บรรณานุกรม
งานศึกษาวิจัยที่เกี่ยวข้องกับโครงการเหมืองแร่โพแทช อุดรธานี
หนังสือ
-กรมทรัพยากรธรณี. (2548 ). 110 ปีกรมทรัพยากรธรณี ตำนานสืบสานท้าแผ่นดิน. กรุงเทพฯ : กรมทรัพยากรธรณี.
-กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่. (2547). เอกสารพระราชบัญญัติแร่(ฉบับที่5) พ.ศ.2545
และประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ตามมาตรา88/6 88/9 88/10 และ88/11. กรุงเทพฯ กระทรวงอุตสาหกรรม
-กุลรัตน์
(นามแฝง). (2542). เกลือ คุณสมบัติและการใช้ประโยชน์.
กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์สมิต.
-กลุ่มสามประสาน
กองประสานการจัดการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. (2547). เกลือสินเธาว์. กรุงเทพฯ : กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.
-จรัญญา วงษ์พรหมและธนะจักร เย็นบำรุง. (2550).
เกลืออีสาน องค์ความรู้สู่ยุทธศาสตร์การจัดการอย่างยั่งยืน. ขอนแก่น:ขอนแก่นการพิมพ์.
-บริษัทเอเชียแปซิฟิก โปแตช คอร์เปอร์เรชั่น
จำกัด. (2544).
ผลประโยชน์โครงการเหมืองแร่โพแทช อุดรธานี .
พิมพ์ครั้งที่ 6,กรุงเทพฯ:มปพ.
-บริษัททีม คอนซัลติ้ง เอนจิเนียริ่ง แอนด์ แมเนจเมนท์
บจก. (2545).
รายงานการศึกษาผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมโครงการเหมืองแร่โพแทชอุดรธานี
ของบริษัทเอเชียแปซิฟิกโปแตชคอร์เปอร์เรชั่นจำกัด
-เลิศศักดิ์ คำคงศักดิ์ และเบญจรัตน์
เมืองไทย. (2548). รายงานฉบับสมบูรณ์
เรื่องการวิเคราะห์นโยบายสาธารณะ กรณีศึกษาการจัดการเกลืออีสาน
วิถีชีวิตชุมชนสู่อุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ : สถาบันวิจัยสาธารณสุข
(สวรส.).
-วิเชียร
บุราณรักษ์. (2548). เรื่อง
ขบวนการเคลื่อนไหวทางการเมืองภาคประชาชน
ศึกษากรณีกลุ่มอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมอุดรธานี
-สมพร เพ็งคำ. (2554). ต่างดวงตา
คุณค่าก็แตกต่าง บทเรียนจากการประเมินผลกระทบทางด้านสุขภาพ
กรณีโครงการเหมืองแร่โพแทช จังหวัดอุดรธานี
-สัญญา ศรายุทธ. (2516 ). เศรษฐกิจการทำนาเกลือ ในปีพ.ศ.2515-2516 กรุงเทพฯ : กองนโยบาย
กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.
-สำนักงานสภาพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติ. (2503
). แผนพัฒนาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
พ.ศ. 2504-2509. กรุงเทพฯ : สภาพัฒนา เศรษฐกิจแห่งชาติ.
-สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดอุดรธานี.
(2549). การจำแนกการใช้ประโยชน์ที่ดินในการวางและจัดทำผังเมืองรวมจังหวัด
ตามแนวคิดที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรมของ.
วิทยานิพนธ์
-กาญจนา อุทัยเลี้ยง. (2544). “กระบวนการยอมรับเทคโนโลยีในการผลิตเกลือบ้านหนองกวั่ง
อำเภอบ้านม่วง จังหวัดสกลนคร.”
วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาไทยศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
-กุสุมา หงส์ชูตา. (2542). “บ่อเกลือบ้านท่าสะอาดกับวิถีชีวิตของชาวลุ่มน้ำสงคราม กรณีศึกษาบ้านท่า สะอาด อ.เซกา จ.หนองคาย.” ปริญญานิพนธ์ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาไทยคดีศึกษา
กลุ่มมนุษย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม .
-ชูศักดิ์
เขียวสะอาด. (2550).
“เรื่องการคาดการณ์ผลกระทบด้านการใช้ประโยชน์ที่ดินจากความคิดเห็นของประชาชนในพื้นที่และระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
กรณีศึกษา : โครงการเหมืองแร่โพแทชแหล่งสมบูรณ์ (แหล่งอุดรใต้) จังหวัดอุดรธานี”
ปริญญานิพนธ์วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต การบริหารัดการสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
-ชัชวาลย์ น้อยคำยาง. (2542) . “ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมจากการผลิตเกลือแบบต้มที่บ้านกุดเรือคำกับแบบ ตาก กรณีศึกษาบ้านจำปาดง ตำบลกุดเรือคำ
อำเภอวานรนิวาส จังหวัดสกลนคร.” ปริญญานิพนธ์ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต
สาขาวิชาไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
-ดำรงค์ ภวภูตานนท์ ณ มหาสารคาม. (2545
). “การจัดการธุรกิจผลิตเกลือสินเธาว์ในอำเภอกันทรวิชัย.” วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
-ทัศพงษ์ พจน์ธีรสถิต. (2538). “ความสำคัญของเกลือสินเธาว์ที่มีต่อชุมชน กรณีศึกษบ้านนากึ๋น ตำบลบ่อเกลือเหนือ
อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน.” สารนิพนธ์สำนักบัณฑิตอาสาสมัคร
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
-นัฐวุฒิ สิงห์กุล.(2550). เกลือและโพแทช ภาษา ความรู้และอำนาจ
ในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติใต้พื้นดินอีสาน กรณีศึกษาโครงการเหมืองแร่โพแทช
จังหวัดอุดรธานี ปริญญานิพนธ์สังคมวิทยาและมานุษยวิทยามหาบัณฑิต สาขามานุษยวิทยา
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
-รติสมัย พิมัยสถาน. (2546). “ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อปริมาณการผลิตเกลือสินเธาว์กรณีศึกษาบ้านม่วง
จังหวัดสกลนคร.” รายงานศึกษาอิสระปริญญาเศรษฐศาสตร์มหาบัณฑิต
มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
-วัฒนสาร ปานเพชร. (2536). “การเปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจและสังคมในช่วง
ที่มีการทำเกลือแบบ การค้าปี2514 ถึงปัจจุบัน
ศึกษาหมู่บ้านเกลือ อำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม.”
ปริญญานิพนธ์ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
-ศศกร สงจินดา. (2538).
“การศึกษากระบวนการผลิตเกลือสินเธาว์:ศึกษาเฉพาะกรณีบ้านหนองแล้ง ตำบลคำไฮใหญ่
อำเภอดอนมดแดง จ.อุบลราชธานี.” สารนิพนธ์สำนักบัณฑิตอาสาสมัคร
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
-เพชร สุพัตกุล. (2542). “ผลกระทบจากการผลิตเกลือสินเธาว์:กรณีศึกษาตำบลบ้านดุง
อำเภอบ้านดุง จังหวัดอุดรธานี.” ปริญญาศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต
สาขาวิชาไทยคดีศึกษา(เน้นสังคมศาสตร์) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
-วนมพร พาหะนิชย์. (2538). “ผลกระทบจากการทำเกลือต่อภูมิทัศน์วัฒนธรรมบริเวณลุ่มน้ำเสียว
ในเขต อำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม” ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต ภูมิศาสตร์มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
-สุชาติ สุขสะอาด. (2544). “แนวทางจัดการอุตสาหกรรมเกลือสินเธาว์แบบยั่งยืน
กรณีศึกษา อำเภอบ้านดุง จังหวัดอุดรธานี.”
ปริญญานิพนธ์ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชานโยบายและการจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกริก.
-สุภาพร ดารักษ์ (2550) “กระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการทรัพยากรแร่ธาตุ
ศึกษากรณีโครงการเหมืองแร่โพแทช จังหวัดอุดรธานี”.
ภาคนิพนธ์ปริญญาศิลปะศาสตร์มหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
-อัมพวัน พักมณี. (2527). “ระบบการตลาดและราคาเกลือในประเทศไทย.” ปริญญานิพนธ์เศรษฐศาสตร์มหาบัณฑิต คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
เอกสารทั่วไป(งานวิจัย ประกาศ กฎหมาย
ราชกิจจานุเบกษา เอกสารและรายงานเย็บเล่ม โรเนียว)
-กองวิจัยการเกษตร
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.
(2538). “การผลิตและการตลาดเกลือของประเทศไทย”. เอกสารเศรษฐกิจการเกษตร
เลขที่88/2538 .
-กลุ่มภูมินิเวศน์ภาคอีสาน.(มปป.). “เอกสารรวบรวมเกี่ยวกับลำน้ำเสียว
เกลือและดินเค็ม”
โดยกลุ่มศึกษาปัญหาดินเค็มภาคอีสาน ,มปท,มปพ.
-ธงชัย พรรณสวัสดิ์และคณะ. (2546). เอกสารการสัมมนาโครงการเหมืองแร่โพแทช
จังหวัดอุดรธานี ปัญหาและแนวทางแก้ไข,กรุงเทพฯ:แมนนี่ พริ้นติ้ง โปรเซส.
-บริษัทเอเชียแปซิฟิก โปแตช คอร์เปอร์เรชั่น
จำกัดและบริษัททีมคอนซัลติ้ง เอนจิเนียริ่ง แอนด์ เมเนจเม้นท์ จำกัด (2553).เอกสารเผยแพร่ข้อมูลโครงการเหมืองแร่โพแทชจังหวัดอุดรธานี
ในกระบวนการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนและผู้มีส่วนได้เสียในพื้นที่ตำบล โนนสูง
หนองนาคำ หนองไผ่ อำเภอเมือง ตำบลห้วยสามพาด ตำบลนาม่วง กิ่งอำเภอประจักษ์
จังหวัดอุดรธานี (เอกสารประชาสัมพันธ์)
-บริษัททีมคอนซัลติ้ง
เอนจิเนียร์ จำกัด. (2542). “รายงานสรุปการประเมินผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมโครงการเหมืองแร่โปแตช.” บริษัทเอเชียแปซิฟิกโปแตช คอร์เปอร์เรชั่น จำกัด.
-ประสิทธิ์ คุณุรัตน์ และเสกสรร ยงวนิชย์. (2547). “เรื่องการศึกษาสภาพและผลกระทบทางเศรษฐกิจ
สังคม ของชุมชนที่จัดการทรัพยากรเกลือ
ดินเค็มและน้ำเค็มในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน” เอกสารวิจัยชุดโครงการวิจัย การจัดการทรัพยากรเกลือ ดินเค็มและน้ำเค็ม
แบบยั่งยืนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. ,คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
-มูลนิธิฟรีดิก นามัน
กลุ่มประชาชนองค์กรพัฒนาเอกชน และมหาวิทยาลัยบางแห่ง. (2533). “ผลกระทบของสิ่งแวดล้อมปัญหาทรัพยากรธรรมชาติภาคอีสาน
และผลประโยชน์มหาศาลที่ชาวบ้านไม่ได้ครอบครอง” เอกสารโรเนียว
มปท:มปพ.
-ราชกิจจานุเบกษา. (2522). “ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง กำหนดพื้นที่ให้เป็นเขตดำเนินการสำรวจ
การทดลอง การศึกษา หรือการวิจัยเกี่ยวกับแร่” ราชกิจจานุเบกษา
(ฉบับพิเศษ เล่ม 96 ตอนที่ 21) กรุงเทพฯ:สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี.
-ราชกิจจานุเบกษา. (2537). “ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่๑๕๓
(พ.ศ.๒๕๓๗) เรื่องเกลือบริโภค”. ราชกิจจานุเบกษา (เล่มที่ 111 ตอนพิเศษ 15 ),กรุงเทพฯ: สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี.
-ราชกิจจานุเบกษา.(2544). พระราชบัญญัติแร่ พ.ศ. 2510. ราชกิจจานุเบกษา มกราคม 2546,กรุงเทพฯสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี.
-สมชัย วงศ์สวัสดิ์และสมเจตต์ จุลวงษ์. (2532). “ เอกสารดินเค็มกับผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม” อุทกวิทยาภาคอีสาน ดินเค็มในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ,กรุงเทพฯ:กรมพัฒนาที่ดิน.
-สันติภาพ ศิริวัฒนาไพบูลย์และสมพร เพ็งคํ่า.
(2546). “เหมืองแร่โพแทช:ผลกระทบต่อสุขภาพที่ถูกมองข้าม”.
เอกสารประกอบการสัมมนาสมัชชาสุขภาพระดับพื้นที่ภาคอีสานว่าด้วยสิ่งแวดล้อมเกษตรที่เอื้อต่อสุขภาพและนโยบายสาธารณะ.
สกลนคร: โรงแรมสกลแกรนด์.
-ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร.(2546) . ทุ่งกุลา อาณาจักรเกลือ 2,500 ปี
ภูมิหลังนิเวศวัฒนธรรมของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ,(เอกสารสัมมนา). ณ
ศูนย์มานุษยวิทยาสินธร วันศุกร์ที่ 7 กุมภาพันธ์ 2546.
-สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดอุดรธานี.(2544). “เอกสารสรุปความเคลื่อนไหวคัดค้าน โครงการเหมืองแร่โปแตชจังหวัดอุดรธานี”.มปท.,มปพ.
-สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดอุดรธานี.(2544). “เอกสารบรรยายสรุปโครงการเหมืองแร่โปแตชอุดรธานี” ประกอบการตรวจ
ราชการคณะกรรมาธิการร่วมกันเพื่อพิจารณาร่างพระราชบัญญัติแร่, มปท,มปพ.
-หน่วยวิชาการสาขาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ธนาคารแห่งประเทศไทย.(2521). รายงานการสำรวจ เศรษฐกิจ การผลิตและการตลาด
ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ , กรุงเทพฯ :ธนาคารแห่งประเทศไทย.
-อานนท์ เศรษฐเกรียงไกรและคณะ. (2535). รายงานการศึกษา
ความเป็นไปและความเหมาะสมในการจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมเกลือสินเธาว์ อำเภอบ้านดุง
จังหวัดอุดรธานี , กรุงเทพฯ : ศูนย์เศรษฐกิจอุตสาหกรรมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
กองเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม.
บทความในวารสารและหนังสือพิมพ์
-แก้ว กังสดารอำไพ. (2534). “เมื่อเกลือไม่ใช่เป็นเพียงแค่เกลือ”
หมอชาวบ้าน. ปีที่132 ฉบับที่151 ( พฤศจิกายน) สถาบันวิจัยโภชนาการ
มหาวิทยาลัยมหิดล.
-ชูชีพ ดำรงสันติสุข. (2538). “ชีวิตสาวนาเกลือ ท่าหาดยาว ต้มดินให้เป็นเกลือ อาชีพที่ไม่ต้องมีทุนรอน”
มติชนรายวัน
(18
มิถุนายน 2538) :11.
ณรงค์ ถิรมงคล. (2521). “ข้อคิดเห็นการกำเนิดเกลือโพแทชในภาคอีสาน”วารสารข่าวสารการธรณี ปีที่ 23 ฉบับที่7( กรกฎาคม ) :25-39.
-ธุรกิจก้าวหน้า. (2535). “เกลือปรุงทิพย์ บุกตลาด
เน้นจุดขาย มีธาตุไอโอดีนเป็นส่วนผสม” คอลัมน์เจาะตลาด (มีนาคม) :102-104.
-บุญชัย เจียมจิตจรุง. (2535). “ระวังเกลือท่วมประเทศ
ผันนาเกลือเป็นเหมืองโปแตช” ฐานเศรษฐกิจ (24 กุมภาพันธ์ ถึง 1 มีนาคม ):3
-ประสาท สายดวง. (2540). “ต้มเกลือสินเธาว์ที่หนองเค็ม
ภูมิปัญญาชาวบ้านอันล้ำค่า” มติชน (17 มีนาคม 2540 ):32
-ประเสริฐ วิทยารัฐ. (2538). “ เกลืออีสาน” วารสารสุโขทัยธรรมมาธิราช ปีที่8 ฉบับที่3
(ก.ย.-ธ.ค.2538) : 36- 50.
พจน์ เกื้อกูล. (2518). “บ่อพันขัน”
เมืองโบราณ ปีที่2 ฉบับที่1( ตุลาคม-ธันวาคม ) หน้า
72-80.
-พงษ์เทพ จารุอำพรรณ. (2534). “สภาพปัญหาและมาตรการแก้ไขการทำเกลือในภาคตะวันออกเฉียงเหนือในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ”
รัฐสภาสาร ปีที่39 ฉบับที่2 (กุมภาพันธ์ ):72-85.
-มติชน. (2538). “พลิกปูมศึก 3 เส้า แอ่งเกลือ บ้านม่วง-วานรนิวาส สกลนคร” มติชน ( 17 มกราคม):6.
-มยุรี อัครบาล. (2547
). “นาเกลือโบราณ
วิถีชีวิตลูกอีสานที่กำลังหายไป” คมชัดลึก
(12 กุมภาพันธ์ 2547):38.
-วรรณา ศรีขจร. (2520 ). “สถานการณ์แร่โปแตชของโลก” ข่าวสารการธรณี,ปีที่22 ฉบับที่1 (มกราคม):50-54.
-วีระ สุดสังข์.(2535). “โดยคำถามถึงโขงชีมูล
ผันน้ำมาละลายภูเขาเกลือ” อาทิตย์ข่าวพิเศษ ปีที่17(1) ฉบับที่864(7) 31 ธันวาคม
–6 มกราคม:15.
-แวน เลียร์. (2515). “Salt
and Settelment in Northeast Thailand” เมืองโบราณ ปีที่2 ฉบับที่8 (เมษายน -กรกฎาคม) :112-116.
-ศรีศักร วัลลิโภดม. (2535).
“เกลืออีสาน”
วารสารเมืองโบราณ ปีที่18 ฉบับที่1 (มกราคม-มีนาคม). กรุงเทพฯ :
เมืองโบราณ.
-สุริยา สมพงษ์. (2535)
. “จากวันวานถึงวันนี้คืนชีวิตลำน้ำเสียว”
แนวหน้า (28 เมษายน):8.
-เสวต จันทรพรม. (2535). “17 ปีแห่งความระทมของคนอีสาน
นาเกลือส่งผลร้าย” ไทยรัฐ (28 มกราคม 2538):5 .
-ไสว สุนทโรวาท. (2521). “โปแตชอยู่หนใด” ข่าวสารการธรณี ,ปีที่22 ฉบับที่11(พฤศจิกายน): 37-43.และ“โปแตชตอนอวสาน (5)” ข่าวสารการธรณี
ปีที่23 ฉบับที่3(มีนาคม) :7-16.
-เอมอร จงรักษ์.(2521). “สถานการณ์แร่โปแตชปี2515-2519”ข่าวสารการธรณี ,ปีที่24 ฉบับที่7
(กรกฎาคม)43-53.
-อัษฎา วนาทรัพย์ดำรง. (2529). “ขุมทองคำขาวเกลือบรบือ”
เดลินิวส์ ( 21 มิถุนายน
) :8.
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น