บรรณานุกรมงานวิจัยเกี่ยวกับเครือข่ายคัดค้านเหมืองแร่
จังหวัดเลย และหนองบัวลำภู
-รัศมี นนทีและคณะ.(2550).
การวิเคราะห์คุณภาพน้ำในชุมชน รอบเหมืองทองคำ ต.เขาหลวง อ.วังสะพุง จ.เลย
ภาควิชาวิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎจังหวัดเลย
-วันเฉลิม จำนงบุญ. (2552). การวิเคราะห์หาคุณภาพน้ำฝนและน้ำประปา
ในชุมชนรอบเหมืองทองคำ ตำบลเขาหลวง อำเภอวังสะพุง จังหวัดเลย.
-วรพรรณ สุตบุญมา.(2552). การเฝ้าระวังคุณภาพของน้ำในแม่น้ำฮวย
รายงานการวิจัยวิทยาศาสตร์บัณฑิต สาขาเคมี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย.
-สำนักสารนิเทศ
สำนักปลัดกระทรวงสาธารณสุข.(2553).สวจ.เลยเตือนแหล่งน้ำ รอบเหมืองทุ่งทองคำ
อันตรายพบสารพิษหลายชนิดห้ามกินห้ามใช้ อ้างจาก Http://www.mopha.go.th/ops/iprg/include/admin hotnow.
-ศูนย์วิจัยน้ำบาดาล.(2552).รายงานผลปฏิบัติตามมาตรฐานการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อมโครงการเหมืองแร่ทองคำภูเขาหลวง
อ.วังสะพุง จ.เลย ประจำเดือนมกราคม พ.ศ.2552 คณะเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
-กรมทรัพยากรธรณี.(มปป.) แหล่งแร่ทองคำ ภูทับฟ้า ตำบลเขาหลวง อ.วังสะพุง จ.เลย.
-โครงการสิทธิทางเศรษฐกิจสังคมและวัฒนธรรม(2553) นาหนองบง : สิทธิทางเศรษฐกิจ
สังคมและวัฒนธรรมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประเทศไทย.(มปพ.)
-รายงานสภาวะเศรษฐกิจการคลัง
จังหวัดเลย ประจำเดือนมกราคม พ.ศ.2554 และไตรมาสที่4
2552
-ธัญญาภรณ์ สุรภักดี.(2553).
เปลี่ยนไปเลยชะตากรรมของเหมืองเลยภายหลังจากการเข้ามาของเหมืองทองคำ
สำนักคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ.
- กลุ่มศึกษาสัญญาและสัมปทาน
สัมปทาน วารสารอีเล็คโทนิค ปีที่1 ฉบับที่1 กรกฎาคม-กันยายน 2553
-เอกสารประกอบการประชุม
รับฟังความคิดเห็นของประชาชนต่อการกำหนดเขต
และแนวทางการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ
โครงการเหมืองทองแดง บริษัทภูเทพจำกัด
-แนวทางการแก้ไขความขัดแย้ง
ความขัดแย้งที่เกิดจากการประกอบกิจการเหมืองแร่ทองคำในเขต ตำบลเขาหลวง
อำเภอวังสะพุง จังหวัดเลย ผศ.ไชยวุฒิ มนตรีรักษ์
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย (2553)
-จันทร์แจ่ม
ดวงอุปะ และคณะ, 2550. รายงานผลการวิเคราะห์คุณภาพน้ำในลำน้ำฮวย.
มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย
-กรมควบคุมมลพิษ.(2551).รายงานผลการตรวจสอบปริมาณสารไซยาไนด์และโลหะหนักในแหล่งน้ำผิวดิน
บ่อน้ำใช้ของประชาชน บ่อสังเกตการณ์ภายในเหมืองแร่ทองคำของ บ. ทุ่งคำ จำกัด และตะกอนดินบริเวณหมู่บ้านใกล้เคียง เมื่อวันที่
24-25 มิถุนายน 2551. เอกสารอัดสำเนา.
-กรมควบคุมมลพิษ. รายงานผลการตรวจสอบปริมาณสารไซยาไนด์และโลหะหนักในแหล่งน้ำผิวดิน บ่อน้ำใช้ของประชาชน
และตะกอนดิน บริเวณหมู่บ้านใกล้เคียงเหมืองแร่ทองคำของ บ. ทุ่งคำ
จำกัด เมื่อวันที่ 23 มกราคม 2552. เอกสารอัดสำเนา.
-กรมทรัพยากรธรณี.“พื้นที่กำหนดตามพระราชบัญญัติแร่ให้เป็นเขตแหล่งแร่เพื่อการพัฒนาทรัพยากรณี”.
http://www.dmr.go.th/main.php?filename=min4_14 เข้าเมื่อวันที่
11 มกราคม 2553.
-กรมทรัพยากรธรณี,
2544. แผนที่ทรัพยากรแร่ แสดงพื้นที่แหล่งแร่ และพื้นที่ศักยภาพทางแร่
จ. เลย.
-กรมทรัพยากรธรณี,
2544. “แหล่งแร่ทองคำภูทับฟ้า ต.เขาหลวง อ.
วังสะพุง จ. เลย”.
http://www.dmr.go.th .เข้าเมื่อวันที่ 10 ตุลาคม
2552.
-กลุ่มเฝ้าระวังและติดตามผลกระทบจากเหมืองแร่ทองคำ
จ. เลย สื่อรักษ์เมืองเลย. เมืองที่ดีมีไหมในโลก.เอกสารประกอบการสัมมนาเปิดเวทีเชิงประเด็นเห็นปัญหาร่วมกัน กรณีเหมืองทองคำ
จ. เลย วันที่ 1 ธันวาคม 2550 ณ ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรจังหวัด.
-กองวิเคราะห์น้ำบาดาล
กรมทรัพยากรน้ำบาดาล. รายงานผลการทดสอบคุณภาพน้ำบาดาลปี 2552 (กุมภาพันธ์ 52). เอกสารอัดสำเนา.
-กองวิเคราะห์น้ำบาดาล
กรมทรัพยากรน้ำบาดาล. รายงานผลการทดสอบคุณภาพน้ำบาดาลปี 2552 (มีนาคม 52). เอกสารอัดสำเนา.
-ศูนย์การจัดการสิ่งแวดล้อม
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. รายงานผลการวิเคราะห์คุณภาพน้ำ.เอกสารอัดสำเนา.
-ศูนย์วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์สุขภาพจากสมุนไพร
คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.รายงานผลการวิเคราะห์คุณภาพน้ำ.เอกสารอัดสำเนา.
-สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.
2552. รายงานการศึกษานโยบายการสำรวจและทำเหมืองแร่ทองคำ.http://www.nesdb.go.th/
เข้าเมื่อวันที่ 10 มกราคม 2553.
-สำนักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่ 9 อุดรธานี. รายงานผลการเฝ้าระวังผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
โครงการเหมืองแร่ทองคำ. เอกสารอัดสำเนา.
-สำนักปลัด
งานวิเคราะห์นโยบายและแผน. แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ. 2553-2555) องค์การบริหารส่วนตำบลเขาหลวง อ.
วังสะพุง จ. เลย.
- มานะ จาตุวรรณ (2550) การศึกษาความเป็นไปได้การทำเหมืองแร่แบไรท์แบบเหมืองใต้ดินที่บริษัท
พีแอนเอสแบไรท์ ไมน์นิ่ง จังหวัดเลย .
-การทำเหมืองแร่ทองคำที่จังหวัดเลย
ของอนุ กัลลประวิทย์
สำนักบริหารสิ่งแวดล้อม.
- แม้นวาด กุญชร ณ
อยุธยา.เหมืองทองวังสะพุง เมื่อผู้จงรักษ์เป็นผู้บุกรุก
-เอกสารประกอบการประชุมรับฟังความคิดเห็นของประชาชนต่อการกำหนดเขตและแนวทางการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ
โครงการเหมืองแร่ทองแดง บริษัทภูเทพ จำกัด (มปท.มปป.).
-บทความ ความอยุติธรรมในสังคมอีสาน
จากจดหมายข่าวคนฮักถิ่น ปีที่7 ฉบับปรับโฉม เดือนกรกฏาคม
พ.ศ.2554และเว๊ปไซต์ http://www.esaanvoice.net/esanvoice/know/show.php?Category=topreport&No=13802.
-เอกสารประกอบการสัมมนา
ยุทธศาสตร์ความร่วมมือในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมภาคอีสาน ภูผายา
ผาจันได ผาโขง ต.ดงมะไฟ อ.สุวรรณคูหา จ.หนองบัวลำภู ของชมรมอนุรักษ์ภูผาป่าไม้
อ.สุวรรณคูหา จ.หนองบัวลำภู (มปท.มปป.).
-ศูนย์วิจัยน้ำบาดาล.(2552). รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรฐานการป้องกันและแก้ไขผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมและมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อมโครงการเหมืองแร่ทองคำภูทัปฟ้า
ต.เขาหลวง อ.วังสะพุง จ.เลย ประจำเดือนมกราคม 2552 คณะเทคโนโลยี ขอนแก่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
- เอกสารโครงการ เด็กกับการมีส่วนร่วมในการพัฒนาสิ่งแวดล้อมชุมชน
ของชมรมอนุรักษ์น้อยภูผายา ตำบลดงมะไฟ อำเภอสุวรรณคูหา จังหวัดหนองบัวลำภู
(อ้างอิงจาก http://www.gotoknow.org/blogs/posts/72097)
-หนังสือ
"กระบวนการต่อสู้เพื่อรักษาทรัพยากรชุมชน" คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
-บทความ
เรื่อง อดีต กก.สิทธิฯชี้กระบวนการยุติธรรมลักหลั่น ชาวบ้านค้าน“เหมืองหินผาจันได”
ติดคุก เขียนโดย ธิดามนต์ พิมพาชัย ศูนย์ข่าวเพื่อชุมชน วันที่ 22
กรกฎาคม 2554
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น