ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก กุมภาพันธ์, 2018

ทำไมต้องศึกษาเศรษฐกิจด้วยมุมมองทางมานุษยวิทยา

ทำไมต้องศึกษาเศรษฐกิจด้วยมุมมองทางมานุษยวิทยา ความแตกต่างระหว่างมุมมองทางเศรษฐศาสตร์กับมุมมองทางมานุษยวิทยาในการศึกษาเรื่องเศรษฐกิจ ( Economic Perspective, Anthropology Perspective )     เศรษฐกิจ ” (Economy) มาจากกรีกว่า “ oikos” แปลว่าบ้าน( House) และ “ Nemein” แปลว่า การจัดการ ( to manage) ดังนั้น “ เศรษฐกิจ ” จึงหมายถึง การจัดการครอบครัว ( Household management) คือ มีความชำนาญในการจัดการเรื่องครอบครัว ( Skilled in the management of a household) ในภาษาอังกฤษใช้คำว่า “ Economics” หรือ เศรษฐกิจ คือ เศรษฐกิจเป็นส่วนหนึ่งของวิชาเศรษฐศาสตร์การศึกษาเรื่องเศรษฐกิจ ก็คือการศึกษาถึงวิชาเศรษฐศาสตร์ ซึ่งเศรษฐศาสตร์เป็นสาขาวิชาหนึ่งในวิชาสังคมศาสตร์ศึกษาถึงเรื่องของมนุษย์และเศรษฐกิจควบคู่กันไป   ในความหมายของคำว่าเศรษฐศาสตร์กับเศรษฐกิจ ทั้งแนวคิดเรื่องเศรษฐศาสตร์ กับ เศรษฐกิจมีความต่างกัน   ในแง่ที่เศรษฐกิจคือแบบแผนของกิจกรรมที่มีเป้าหมายเป็นผลตอบแทนทางวัตถุ   ในขณะที่เศรษฐศาสตร์คือแนวคิดทฤษฎี หรือสมมุติฐานเพื่อใช้สำหรับวิเคราะห์กิจกรรมที่หวังผลตอบแทน   ทุก...

อะไรคือมานุษยวิทยาเศรษฐกิจ โดยนัฐวุฒิ สิงห์กุล

อะไรคือมานุษยวิทยาเศรษฐกิจ คำจำกัดความของมานุษยวิทยาเศรษฐกิจ           สิ่งที่เป็นพื้นฐานที่สุดของมานุษยวิทยาเศรษฐกิจคือการอธิบายพรรณนา( description )และวิเคราะห์( Analysis )ชีวิตทางเศรษฐกิจ( economic life )โดยใช้มิติมุมมองทางมานุษยวิทยา( Carrier 2005:1 ) โดยนักมานุษยวิทยาเศรษฐกิจจะเน้นศึกษาเศรษฐกิจในมิติเชิงเปรียบเทียบ( comparative perspective ) โดยเน้นศึกษาประเด็นทางเศรษฐกิจที่เกี่ยวข้องกับการผลิต( production ) การแลกเปลี่ยน ( exchange )การแจกจ่าย( distribution )และการบริโภคทรัพยากร( Consumption of resources )           มานุษยวิทยาเศรษฐกิจคือสนามที่พยายามอธิบายพฤติกรรมทางเศรษฐกิจของมนุษย์ ที่เกิดขึ้นจากปฏิบัติการหรือการศึกษาโดยนักมานุษยวิทยา ภายใต้ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจอันซับซ้อน( complex relationship )กับระเบียบวิธีทางเศรษฐกิจ ( Discipline of economics ) ซึ่งจุดเริ่มต้นมันมาจากสนามย่อยของนักมานุษยวิทยาชาวโปแลนด์ที่เป็นบิดาของมานุษยวิทยาคือ Bronislaw Malinowski และนักสังคมวิทยาชาวฝรั่งเศส...

มุมมองทางมานุษยวิทยา (ANTHROPOLOGY PERSPECTIVE) นัฐวุฒิ สิงห์กุล

มุมมองทางมานุษยวิทยา ( ANTHROPOLOGY PERSPECTIVE ) การหายไปของมนุษย์ในมิติทาง ( Absent of man )    มานุษยวิทยาเศรษฐกิจเริ่มแรกเน้นเกี่ยวกับชีวิตทางเศรษฐกิจของกลุ่มคนดั้งเดิม ที่ซึ่งองค์ประกอบที่หลากหลายไม่ถูกแสดงในเศรษฐกิจแบบตะวันตก เช่น การใช้เงิน ระบบตลาด การให้ความสำคัญของคนและปฏิสัมพันธ์ทางสังคมเป็นสิ่งที่ขาดหายไปจากการศึกษาทางเศรษฐกิจ ในขณะเดียวกันแม้จะเห็นมนุษย์ก็เป็นเพียงส่วนหนึ่งของการผลิตและการบริโภคที่เป็นผู้ถูกกระทำมากกว่าผู้กระทำหรือเป็นผู้เลือก( Choice being ) การนำเสนองานชาติพันธ์วรรณา ( Present of ethnography )       การสังเกตการณ์โดยตรงในสังคมที่ไม่ใช่ทุนนิยม โดยใช้งานสนามทางชาติพันธ์วรรณา( ethnographic fieldwork )ที่สร้างให้เกิดข้อมูลในเชิงบริบทที่มากมายซึ่งเกี่ยวข้องกับกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ภายใต้วิถีหรือแนวทางที่นักมานุษยวิทยาค้นหาหรือมีปฏิกริยากับการเผชิญหน้ากับความหลากหลายนี้ และพวกเขาจัดการภายใต้กรอบคิดทฤษฎีที่นำไปสู่การโต้เถียงภายใต้มุมมองทางมานุษยวิทยาเศรษฐกิจอย่างไร การถกเถียงภายใต้องค์ความรู้ในทางเศรษฐกิจ ( The Intellectual Debate...

ประเด้นที่น่าสนใจจากบทความเรื่อง THE HEART OF WHAT'S THE MATTER : The Semantics of Illness in Iran ของ Byron J. Good โดยอ. นัฐวุฒิ สิงห์กุล

บทความเรื่อง THE HEART OF WHAT'S THE MATTER : The Semantics of Illness in Iran ของ Byron J. Good แปลโดยอ. นัฐวุฒิ สิงห์กุล โรคหัวใจสั่นของผู้หญิงอิหร่าน  วัฒนธรรมชายเป็นใหญ่ เพศวิถีของผู้หญิง : ภาพสทะท้อนความมีอำนาจและความไร้อำนาจ ในศตวรรษที่ 11 อิทธิพลของ Islamic scholar สอดคลองกับสิ่งที่ Ghazali ไดอธิบายประสบการณความ วิตกกังวลและวิกฤตสวนตัวของเขาวา มีทางแกไขเพียงอยางเดียวเทานั้นโดยการหันเขาหาเวทมนตคาถา ผูคนใน Maragheh ในปจจุบันสะทอนสิ่งที่ Ghazali กลาวถึงเปนอยางดี สําหรับพวกเขาแลวประสบการณที่วิกฤตและนา กังวลที่เปน ‘ อาการปวยจากหัวใจ ’ (narahatiye qalb) ยังคงมีอยูอยางชัดเจน ผูหญิงรูสึกติดอยูในบานที่แออัด หลังกําแพงสูงตามตรอกซอยที่คดเคี้ยวใน Maragheh ผูชายก็รูสึกกังวลที่ตองตอสูกับแม หรือภรรยาของพวกเขา ผูหญิงที่ตองกินยาคุมกําเนิด หรือที่คลอดลูก  โดยทุกคนจะบนวาหัวใจของพวกเขาเตนผิดปกติ และเนนย้ำวา พวกเขาปวย ( maris) และก็จะนําไปสูการไปหาแพทยทองถิ่นเพื่อทําการรักษาความเจ็บปวยดังกลาว ในบทความชิ้นนี้ไดกลาวถึงตัวอยางกรณีของ Mrs...

ปัญหาทางสุขภาพในวิธิคิดแบบ Biomedical Model และ Bio-Psycho-social Model ?

ปัญหาทางสุขภาพในวิธีคิดแบบ Biomedical Model และ Bio-Psycho-social Model ? ในบทความเรื่อง After the Miracle ชิ้นนี้เปนเรื่องเกี่ยวกับจิตรา ( Chitra ) ผูหญิงชาวอินเดียอายุ 32 ปที่อพยพมา อาศัยอยูในเมืองนิวยอรก ประเทศสหรัฐอเมริกา  เหตุการณเกิดขึ้นเมื่อเธอพบวามีกอนเนื้อบริเวณหนาอกขาง ซายของเธอ และเธอก็ไดไปหาหมอและไดรับการวินิจฉัยวากอนเนื้อนั้นเปนเนื้อราย รวมทั้งตรวจพบวามะเร็งได เริ่มลุกลามไปยังปอดของเธอแลว  หลังจากนั้นเธอไดรับการรักษาโดยการตัดเตานมและเนื้อเยื่อที่อยูรอบๆออกไป แพทยไดใชวิธีการรักษาจิตราดวยการฉายรังสีและรักษาดวยวิธี Chemotherapy ซึ่งเปนขั้นตอน มาตรฐานสําหรับการรักษามะเร็งเตานมทั่วไปเพื่อรักษาชีวิตของผูปวย  โดยความมหัศจรรยที่เกิดขึ้นในชีวิตของเธอสัมพันธกับการรักษาโรคดวยสองวิธีการที่แตกตางแตมีเปาหมายเดียวกันคือการรักษาเยียวยาใหหายจาก ความเจ็บปวย ที่นําไปสูความมหัศจรรยในชีวิตของเธอที่เซลลมะเร็งหายไปจากรางกายของเธอ   ความเจ็บปวยไมใชเพียงแคเรื่องของรางกายตามคําอธิบายชีวะการแพทย แตมีเรื่องที่เกี่ยวของ...