ปัญหาทางสุขภาพในวิธีคิดแบบ Biomedical
Model และ Bio-Psycho-social Model ?
ในบทความเรื่อง After
the Miracle ชิ้นนี้เปนเรื่องเกี่ยวกับจิตรา (Chitra) ผูหญิงชาวอินเดียอายุ 32 ปที่อพยพมา อาศัยอยูในเมืองนิวยอรก
ประเทศสหรัฐอเมริกา เหตุการณเกิดขึ้นเมื่อเธอพบวามีกอนเนื้อบริเวณหนาอกขาง
ซายของเธอ และเธอก็ไดไปหาหมอและไดรับการวินิจฉัยวากอนเนื้อนั้นเปนเนื้อราย
รวมทั้งตรวจพบวามะเร็งได เริ่มลุกลามไปยังปอดของเธอแลว หลังจากนั้นเธอไดรับการรักษาโดยการตัดเตานมและเนื้อเยื่อที่อยูรอบๆออกไป
แพทยไดใชวิธีการรักษาจิตราดวยการฉายรังสีและรักษาดวยวิธี Chemotherapy
ซึ่งเปนขั้นตอน มาตรฐานสําหรับการรักษามะเร็งเตานมทั่วไปเพื่อรักษาชีวิตของผูปวย โดยความมหัศจรรยที่เกิดขึ้นในชีวิตของเธอสัมพันธกับการรักษาโรคดวยสองวิธีการที่แตกตางแตมีเปาหมายเดียวกันคือการรักษาเยียวยาใหหายจาก
ความเจ็บปวย ที่นําไปสูความมหัศจรรยในชีวิตของเธอที่เซลลมะเร็งหายไปจากรางกายของเธอ
ความเจ็บปวยไมใชเพียงแคเรื่องของรางกายตามคําอธิบายชีวะการแพทย
แตมีเรื่องที่เกี่ยวของกับ ชีวะ จิตและสังคมดวย ดังเชนในบทความ ผูเขียนบทความซึ่งเปนหมอที่ดูแลจิตรา
ไดเฝาติดตามและสังเกต พฤติกรรมของเธอจนพบวาจิตตรามีความวิตกกังวลและเครียดมาก
ซึ่งไมใชเรื่องที่เธอจะตองตายแตเธอเปน กังวลวาสามีของเธอจะอยูคนเดียวและตอไปแตงงานใหมกับผูหญิงอเมริกันซึ่งเปนเรื่องที่เธอทําใจยอมรับไมได
แมวาดูภายนอกเธอจะดูมีสุขภาพที่แข็งแรงแตจริงๆแลวเธอซอนความเจ็บปวยของเธอจากผูอื่นเชนญาติของเธอ
ซึ่งเธอกลัววาพวกเขาจะมองเธอดวยสายตาที่สงสารวาเธอกําลังใกลจะตาย
ทั้งๆที่เธอไดรับความทุกขทรมานจาก ความเจ็บปวยอยางมาก โอกาสมีชีวิตรอดของเธอเกินกวา5 ปมีนอยกวา 10 เปอรเซ็นต จนกระทั่งนายแพทยได เสนอแนวทางการรักษาใหมที่ควบคูไปกับการทําเคมีบําบัดสําหรับจิตรา
ซึ่งก็คือวิธีการแบบอายุรเวช (Ayuraveda)
ซึ่งแมวาจิตราจะเติบโตในสังคมอินเดีย แตเธอก็มีความรูเกี่ยวกับเรื่องนี้นอยมาก
มีเพียงปูของเธอ ซึ่งเปนเจเนอเรชั่นสุดทายที่รูเรื่องเหลานี้พรอมกับการเติบโตของการแพทยสมัยใหมในอินเดีย
ดังนั้นความ เจ็บปวยของจิตราจึงไมใชแคเรื่องของรางกายแตสัมพันธกับมิติทางดานจิตใจ
ความวิตกกังวล รวมถึงเรื่องสังคมที่สัมพันธกับบุคคลที่เธอรักและครอบครัว
การรักษาความเจ็บปวยไมสามารถรักษาแคเพียงรางกายอยางเดียวแตสัมพันธกับเรื่องของจิตใจและ
สังคม ทั้งความเชื่อมั่นในการรักษา การยอมรับการรักษา
รวมถึงการบรรเทาความวิตกกังวลหรือความกลัวที่ บุคคลเผชิญกับความเจ็บปวย ดังเชนในบทความ
หมอตองการดึงจิตรามาเขาสูกระบวนการรักษาแบบอายุรเวช เพราะความเจ็บปวยดวยโรคมะเร็งของจิตราไดเกี่ยวของกับลักษณะทางกายภาพหรือรางกายเทานั้นแตยัง
เกี่ยวพันกับสิ่งอื่นๆแบบเปนองครวม (Holistic) แมวาจิตราจะรับรูวาเธอปวยเปนมะเร็งและรูสึกถึงความทุกข ทรมานจากโรคนี้
ทั้งจากการตรวจเนื้อเยื่อที่ปอดของเธอและรูวาเซลลมะเร็งมีการแพรกระจายมากขึ้น
รวมถึง อาการปวดหนาอกของเธอที่ทําใหเธอตั้งนั่งพักและหายใจลําบาก ที่สะทอนใหเห็นสัญญาณของโรคที่เกี่ยวของ
กับรางกาย ความรูสึกเจ็บปวดอารมณซึมเศรา หดหู ความวิตกกังวล
ที่สมองของจิตราตอบสนองตอสิ่งเหลานี้
ดังนั้นวิธีการแบบองครวม (Holistic) จึงเปนวิธีการรักษาที่เกี่ยวของสัมพันธระหวางรางกาย
(Body)กับ จิตใจ (Mind) เขาดวยกัน
โดยเปรียบเทียบใหเห็นวาถาปจจุบันจิตตราอยูในบอมเบย อินเดีย ยาของเธออาจจะ
จัดเตรียมอาหารที่เฉพาะใหเธอ การนวดน้ำมันเพื่อใหรางกายผอนคลายและทําความสะอาดรางกายใหเธอหรือ
ซื้อยาสมุนไพรจากรานขายยาอายุรเวชและใหหลอนนอนพักอยูบนเตียงนอน
ซึ่งวิธีการรักษาแบบอายุรเวชจึง เปนสิ่งที่ปะทะกับบางสิ่งที่ลึกในธรรมชาติ และเปนความรูที่เปนรากเหงาซึ่งไมใชเทคนิควิทยาการสมัยใหมแต
เปนภูมิปญญา (Wisdom) ในขณะที่แพทยแบบสมัยใหม (Modern
Medicine) มียุทธศาสตรอยูที่การปะทะโจมตี ทางดายกายภาพในโรคมะเร็งของผูปวย
แมวาวิธีการทั้งสองอยางจะเหมือนกันตรงที่ใหความสําคัญกับรางกาย โดยอายุรเวช
เนนที่การบําบัดฟนฟูตัวเองของรางกาย ขณะที่การแพทยสมัยใหมจัดการกับรางกายโดยเครื่องมือ
ทางการแพทยสมัยใหม ทั้งยา รังสี เอกเรย ในขณะที่การทําสมาธิ การฝกจิตเปนเรื่องของจิตใจที่ถูกเชื่อมโยงเขา
มาในการรักษาที่หลากหลายของจิตรา
ความมหัศจรรยที่เกิดขึ้นกับการรักษาดวยวิธีการทั้งสองรูปแบบรวมกัน สะทอนใหเห็นความสัมพันธ
ของกระบวนทางชีวะวิทยา จิตวิทยาและสังคมที่ทําใหอาการเจ็บปวยของจิตราหายไป ดังเชนในบทความพบวา
จิตราไดเขารับการรักษาที่คลินิกของหมอ เธอนอนพักรักษาตัวอยูหลายสัปดาหเพื่อเขารับการรักษาและการ
รักษาตัวที่บาน ดวยวิธีการเปลี่ยนแปลงอาหาร
การกินยาสมุนไพรตามตําราอายุรเวช
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การออกกําลังกาย เชน การเลนโยคะ วิธีการดังกลาวเหมือนการฟนฟูซอมแซมรางกายที่เชื่อในความสามารถของ
การดูแล รักษา ฟนฟูตัวเอง เพื่อใหอวัยวะตางๆกลับมาสูความสมดุล
จิตตราเชื่อมั่นกับโปรแกรมการรักษาและกลับมาทุก 6 สัปดาห ในขณะเดียวกันเธอก็ยังคงรักษาดวยวิธีการเคมีบําบัดดวยกับหมอที่นิวยอรก
ประมาณป หนึ่งเมื่อไดติดตามความกาวหนาของจิตรา จากการเอ็กซเรยปอดก็ยังคงแยเหมือนเดิม
หายใจลําบากและดู เหมือนเธอจะออนแอลง จนกระทั่งหมอสงสัยวาเธอจะมีอาการติดเชื้อ
มีไขสูงมากและไมอนุญาตใหเธอออกจาก โรงพยาบาล หมอตัดสินใจเอ็กซเรยปอดของเธออีกครั้ง
จนกระทั่งพบวาปอดของเธอไมมีเซลลมะเร็งแลวและ เธอสามารถฟนฟูตัวเองขึ้นมาไดอยางนาอัศจรรย
ไมวาจะเกิดจาการรักษาดวยเคมีบําบัดหรืออายุเวชก็ตาม แตจิตราก็ยังมีความกังวลวาเซลลมะเร็งจะกลับมาอีกครั้ง
เธอจึงเขามาคุยกับผูเขียนบทความวาจะทํา อยางไรดี เพราะหมอที่รักษาดวยเคมีบําบัดก็บอกวาเธอดีขึ้นเพราะเคมีบําบัดและควรรักษาดวยวิธีการนี้ตอ
แมวา ผูเขียนจะเชื่อมั่นในวิธีการรักษาแบบอายุรเวชก็ตามแตไมมีเหตุผลที่ดีมากเพียงพอที่จะใหเธอเลิกรักษาดวยเคมี
บําบัดแลวมารักษาดวยอายุรเวชอยางเดียว เพราะไมสามารถรับประกันไดหากเธอกลับมาเปนอีกครั้งและตายใน
6 เดือนถัดไป แตผูเขียนก็ขอใหเธอรักษาแบบเคมีบําบัดควบคูกับอายุรเวชดวย
จนกระทั่งหลายเดือนจิตราก็หาย จากโรคนี้ แตเธอก็ยังคงสงสัยถึงความมหัศจรรยที่เกิดขึ้นในชีวิตของเธอเกี่ยวกับโรคภัยไขเจ็บที่หายไป ในทางการแพทยพยายามจะทําความเขาและอธิบายดวยหลักการของQuantum
หรือภาวการณกาว กระโดด (เชนเดียวกับภาวะใกลตายหรือปวยหลักไปสูการหายจากความเจ็บปวย)
หรือพลังงาน เปนที่รับรูกันใน หมูนักฟสิกสแมจะยังไมมีการใชในทางคลินิกแตก็มีการพยายามเชื่อมโยงวิธีคิดนี้กับการรักษาแบบอายุรเวช
ใน กรณีของจิตราคือการรักษาแบบควอนตัม (Quantum Healing) ที่มีการเคลื่อนไหวจากภายนอก
วิธีการที่ใชเทคโนโลยีขั้นสูงไปยัง แกนกลางที่ลึกที่สุดของระบบรางกายและจิตใจ
ที่เปนแกนกลางของการรักษา ดังเชนการผสมกลมกลืนระหวาง
อายุรเวชกับวิธีการรักษาสมัยใหมเชน เคมีบําบัดหรือรังสีที่สะทอนใหเห็นการแตงงานหรือการเชื่อมโยงระหวาง
สองวัฒนธรรมที่พยายามนําไปสูคําตอบที่เปนหนึ่งเดียวคือการรักษาโรค ถาเรารูวาสมองของมนุษยทําหนาที่
อะไรสัมพันธกับความคิด อารมณ ความรูสึกและกระตุนการเคลื่อนไหวของรางกายการรักษาความเจ็บปวยก็
ยอมสามารถทําไดอยางมีประสิทธิภาพ ดังนั้น การรักษาโดยเนนทางรางกายโดยการใหยา
ผาตัด มากกวาการ เชื่อมโยงทางดานจิตใจรางกายเขาดวยกันที่จะทําใหเกิดการรักษาที่มีประสิทธิภาพและเกิดความมหัศจรรย
ขึ้นกับชีวิตของเธอได ดังนั้นการทําความเขาใจสุขภาพอยางเปนองครวมวามีความสัมพันธกับเรื่องของกาย
จิตและสังคม การ ผสมผสานระหวางความคิดแบบตะวันตก ที่มองความเจ็บปวยเปนเรื่องของเชื้อโรค
พันธุกรรม ยีนส และ
รางกายแบบการแพทยเชิงชีวะ ที่ยังมีขอจํากัด
กับการมองความเจ็บปวยดวยเรื่องของจิตใจและสังคมก็เปนสิ่งที่ สําคัญ ปาฎิหาริยที่เกิดขึ้นในบทความไมวาจะเกี่ยวของกับการหายจากอาการปวยจากโรคราย
หรือตัวอยางที่ ผูขียนยกมาประกอบ เชน กระดูกหักที่สามารถผสานกันไดดวยจากสภาวะที่ความรูสึกสั่งการใหเกิดขึ้น
หรือ ผูปวยเอดสที่มีชีวิตอยูไดยืนนาน ที่สัมพันธกับการรักษาโดยอาศัยพลังของศรัทธา
จึงเปนสิ่งที่สัมพันธกับ กระบวนการทางจิตวิทยา ความมุงมั่นที่จะมีชีวิตรอด
การตระหนักในศักยภาพแหงตน (Self Efficacy) ที่เชื่อมั่น
ในการรักษาและการดูแลสุขภาพ รวมถึงความคิดและทัศนคติในเชิงบวกตอความเจ็บปวยของตัวเอง
ซึ่งทั้งหมด ลวนสัมพันธกับเรื่องของจิตวิทยาและสังคมและมีความสําคัญมากขึ้นในงานวิจัยและงานศึกษาเกี่ยวกับสุขภาพ
และความเจ็บปวยในปจจุบัน
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น