ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก 2013

ประวัติศาสตร์เกลือโลก โดย นัฐวุฒิ สิงห์กุล

เกลือและปลาร้า : วาทกรรมว่าด้วยเรื่องของปากท้อง การต่อสู้ของชาวนาลุ่มน้ำหนองหานกับ การพัฒนาเรื่องเขื่อนและเหมืองแร่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ “It is believed that the sticky rice-pla daek civilization emerged in proto-historic times, since  the abundance of sites related to the saline domes apparently goes back to the first millenium B.C.” ( Dr. W.J.Van Liere,1982,p.116 ) “ As we can go From later centres of higher civilization,the world of salt is characterized by sophistication in production,distributionand consumption. In primitivity as in modernity,salt was a citizen of culture. ” ( S.A.M Adshead;1992,p.3 ) “...เมื่อเสร็จหน้าไร่นาก็จะย่างเข้าฤดูร้อนเกลือจะขึ้นส่าตามพื้นดินขาวโพลน คนทุ่งกุลาก็จะไปขูดกองเอาไปเพื่อนำไปต้ม แล้วก็กักเก็บไว้ใช้ในครัวเรือน และที่สำคัญคือเอาไว้หมักปลา...” (เดช ภูเก้าล้วน ; 2546, หน้า183) “เกลือต้มหม่องนี่เป็นเกลือชั้นที่หนึ่ง ต้มอยู่บ่อ(หนองเหล็ก) บ่อของชาวบ้านตั้งแต่ดึกดำบรรพ์ เกิดมากะเห็น พอยามหน้าแล้งมันกะขึ้นกาบซาบ...” (พ่อสุวร...

ตาราง:แสดงรูปแบบและมิติความสัมพันธ์ของวาทกรรมการพัฒนาที่ยั่งยืนกับกลุ่มต่างๆ นัฐวุฒิ สิงห์กุล

ตาราง : แสดงรูปแบบและมิติความสัมพันธ์ของวาทกรรมการพัฒนาที่ยั่งยืนกับกลุ่มต่างๆ      ใคร เบื้องหลังหลัก สิ่งที่วิพากษ์ คู่ตรงข้ามหลัก ความหมายที่ส่งผ่าน องค์กรขับเคลื่อน รูปแบบ ยั่งยืนอะไร / เพื่อใคร วาทกรรมย่อยๆ บทบาทของเทคโนโลยี บริษัทเอเชีย แปซิฟิก โปแตช คอร์เปอร์เรชั่นจำกัด (APPC) กลุ่มทุนข้ามชาติ เช่น จีน แคนาดา อุตสาหกรรมจัวหวัด กำนันผู้ใหญ่บ้าน 4 ตำบล หอการค้าจังหวัด - เศรษฐกิจ การเจริญเติบโต - สภาวะปุ๋ยในตลาดโลก สถานการณ์ความต้องการของเกษตรกรรมในประเทศ - การอยู่รวมกันระหว่างเหมืองกับสิ่งแวดล้อม - การใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ในการจัดการ - วิกฤตการณ์ของประเทศ - กลุ่มอนุรักษ์สิ่งแวดลล้อมอุดรธานี - นักวิชาการที่คัดค้านวิจารณ์ - นักพัฒนาเอกชน - สร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจ ชุมชน ชาติ ให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม มีมาตรการระวัง ควบคุมและชดเชยผลกระทบที่จะเกิดขึ้น - อุตสาหกรรมที่ยั่งยืนด้วยมาตรฐานกา...