ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

รายชื่อหนังสือที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาเรื่องเกลือและโพแทชเพื่ิอการค้นคว้าต่อ


บรรณานุกรม งานศึกษาวิจัยที่เกี่ยวข้องกับโครงการเหมืองแร่โพแทช อุดรธานี
หนังสือ
-กรมทรัพยากรธรณี. (2548 ). 110 ปีกรมทรัพยากรธรณี ตำนานสืบสานท้าแผ่นดิน. กรุงเทพฯ : กรมทรัพยากรธรณี.
-กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่. (2547). เอกสารพระราชบัญญัติแร่(ฉบับที่5) พ.ศ.2545 และประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ตามมาตรา88/6 88/9 88/10 และ88/11. กรุงเทพฯ กระทรวงอุตสาหกรรม
-กุลรัตน์  (นามแฝง). (2542). เกลือ คุณสมบัติและการใช้ประโยชน์. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์สมิต.
-กลุ่มสามประสาน กองประสานการจัดการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. (2547). เกลือสินเธาว์. กรุงเทพฯ : กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.
-จรัญญา วงษ์พรหมและธนะจักร เย็นบำรุง. (2550). เกลืออีสาน องค์ความรู้สู่ยุทธศาสตร์การจัดการอย่างยั่งยืน. ขอนแก่น:ขอนแก่นการพิมพ์.
-บริษัทเอเชียแปซิฟิก โปแตช คอร์เปอร์เรชั่น จำกัด. (2544).  ผลประโยชน์โครงการเหมืองแร่โพแทช อุดรธานี . พิมพ์ครั้งที่ 6,กรุงเทพฯ:มปพ.
-บริษัททีม คอนซัลติ้ง เอนจิเนียริ่ง แอนด์ แมเนจเมนท์ บจก. (2545). รายงานการศึกษาผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมโครงการเหมืองแร่โพแทชอุดรธานี ของบริษัทเอเชียแปซิฟิกโปแตชคอร์เปอร์เรชั่นจำกัด
-เลิศศักดิ์ คำคงศักดิ์ และเบญจรัตน์ เมืองไทย. (2548).   รายงานฉบับสมบูรณ์ เรื่องการวิเคราะห์นโยบายสาธารณะ กรณีศึกษาการจัดการเกลืออีสาน วิถีชีวิตชุมชนสู่อุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ : สถาบันวิจัยสาธารณสุข (สวรส.).
-วิเชียร บุราณรักษ์. (2548). เรื่อง ขบวนการเคลื่อนไหวทางการเมืองภาคประชาชน ศึกษากรณีกลุ่มอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมอุดรธานี
-สมพร เพ็งคำ. (2554). ต่างดวงตา คุณค่าก็แตกต่าง บทเรียนจากการประเมินผลกระทบทางด้านสุขภาพ กรณีโครงการเหมืองแร่โพแทช จังหวัดอุดรธานี
-สัญญา ศรายุทธ. (2516 ).   เศรษฐกิจการทำนาเกลือ ในปีพ..2515-2516  กรุงเทพฯ : กองนโยบาย กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.
-สำนักงานสภาพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติ. (2503 ).   แผนพัฒนาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พ.ศ. 2504-2509. กรุงเทพฯ : สภาพัฒนา เศรษฐกิจแห่งชาติ.
-สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดอุดรธานี. (2549). การจำแนกการใช้ประโยชน์ที่ดินในการวางและจัดทำผังเมืองรวมจังหวัด ตามแนวคิดที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรมของ.

วิทยานิพนธ์
-กาญจนา อุทัยเลี้ยง. (2544).   กระบวนการยอมรับเทคโนโลยีในการผลิตเกลือบ้านหนองกวั่ง อำเภอบ้านม่วง จังหวัดสกลนคร.” วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาไทยศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
-กุสุมา หงส์ชูตา. (2542).   บ่อเกลือบ้านท่าสะอาดกับวิถีชีวิตของชาวลุ่มน้ำสงคราม  กรณีศึกษาบ้านท่า   สะอาด อ.เซกา จ.หนองคาย. ปริญญานิพนธ์ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาไทยคดีศึกษา กลุ่มมนุษย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม .
-ชูศักดิ์ เขียวสะอาด. (2550). “เรื่องการคาดการณ์ผลกระทบด้านการใช้ประโยชน์ที่ดินจากความคิดเห็นของประชาชนในพื้นที่และระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ กรณีศึกษา : โครงการเหมืองแร่โพแทชแหล่งสมบูรณ์ (แหล่งอุดรใต้) จังหวัดอุดรธานี” ปริญญานิพนธ์วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต การบริหารัดการสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
-ชัชวาลย์ น้อยคำยาง. (2542) .ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมจากการผลิตเกลือแบบต้มที่บ้านกุดเรือคำกับแบบ  ตาก กรณีศึกษาบ้านจำปาดง ตำบลกุดเรือคำ อำเภอวานรนิวาส จังหวัดสกลนคร.” ปริญญานิพนธ์ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
-ดำรงค์ ภวภูตานนท์ ณ มหาสารคาม. (2545 ).การจัดการธุรกิจผลิตเกลือสินเธาว์ในอำเภอกันทรวิชัย.  วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
-ทัศพงษ์ พจน์ธีรสถิต. (2538).   ความสำคัญของเกลือสินเธาว์ที่มีต่อชุมชน  กรณีศึกษบ้านนากึ๋น ตำบลบ่อเกลือเหนือ อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน. สารนิพนธ์สำนักบัณฑิตอาสาสมัคร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
-นัฐวุฒิ สิงห์กุล.(2550). เกลือและโพแทช ภาษา ความรู้และอำนาจ ในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติใต้พื้นดินอีสาน กรณีศึกษาโครงการเหมืองแร่โพแทช จังหวัดอุดรธานี ปริญญานิพนธ์สังคมวิทยาและมานุษยวิทยามหาบัณฑิต สาขามานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
-รติสมัย พิมัยสถาน. (2546).ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อปริมาณการผลิตเกลือสินเธาว์กรณีศึกษาบ้านม่วง จังหวัดสกลนคร. รายงานศึกษาอิสระปริญญาเศรษฐศาสตร์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
-วัฒนสาร ปานเพชร. (2536).การเปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจและสังคมในช่วง ที่มีการทำเกลือแบบ การค้าปี2514 ถึงปัจจุบัน ศึกษาหมู่บ้านเกลือ อำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม. ปริญญานิพนธ์ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
-ศศกร สงจินดา. (2538).  การศึกษากระบวนการผลิตเกลือสินเธาว์:ศึกษาเฉพาะกรณีบ้านหนองแล้ง ตำบลคำไฮใหญ่  อำเภอดอนมดแดง จ.อุบลราชธานี.  สารนิพนธ์สำนักบัณฑิตอาสาสมัคร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

-เพชร สุพัตกุล. (2542).   ผลกระทบจากการผลิตเกลือสินเธาว์:กรณีศึกษาตำบลบ้านดุง  อำเภอบ้านดุง จังหวัดอุดรธานี.” ปริญญาศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาไทยคดีศึกษา(เน้นสังคมศาสตร์) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
-วนมพร พาหะนิชย์. (2538).   ผลกระทบจากการทำเกลือต่อภูมิทัศน์วัฒนธรรมบริเวณลุ่มน้ำเสียว ในเขต  อำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต ภูมิศาสตร์มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
-สุชาติ สุขสะอาด. (2544).  แนวทางจัดการอุตสาหกรรมเกลือสินเธาว์แบบยั่งยืน กรณีศึกษา อำเภอบ้านดุง จังหวัดอุดรธานี. ปริญญานิพนธ์ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชานโยบายและการจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกริก.
-สุภาพร ดารักษ์ (2550)  “กระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการทรัพยากรแร่ธาตุ ศึกษากรณีโครงการเหมืองแร่โพแทช จังหวัดอุดรธานี”. ภาคนิพนธ์ปริญญาศิลปะศาสตร์มหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
-อัมพวัน พักมณี.  (2527).                ระบบการตลาดและราคาเกลือในประเทศไทย.” ปริญญานิพนธ์เศรษฐศาสตร์มหาบัณฑิต คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

เอกสารทั่วไป(งานวิจัย ประกาศ กฎหมาย ราชกิจจานุเบกษา เอกสารและรายงานเย็บเล่ม โรเนียว)
-กองวิจัยการเกษตร สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร  กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. (2538).  การผลิตและการตลาดเกลือของประเทศไทย. เอกสารเศรษฐกิจการเกษตร เลขที่88/2538 .
-กลุ่มภูมินิเวศน์ภาคอีสาน.(มปป.).  เอกสารรวบรวมเกี่ยวกับลำน้ำเสียว เกลือและดินเค็ม  โดยกลุ่มศึกษาปัญหาดินเค็มภาคอีสาน ,มปท,มปพ.
-ธงชัย พรรณสวัสดิ์และคณะ. (2546).      เอกสารการสัมมนาโครงการเหมืองแร่โพแทช จังหวัดอุดรธานี ปัญหาและแนวทางแก้ไข,กรุงเทพฯ:แมนนี่ พริ้นติ้ง โปรเซส.
-บริษัทเอเชียแปซิฟิก โปแตช คอร์เปอร์เรชั่น จำกัดและบริษัททีมคอนซัลติ้ง เอนจิเนียริ่ง แอนด์ เมเนจเม้นท์ จำกัด (2553).เอกสารเผยแพร่ข้อมูลโครงการเหมืองแร่โพแทชจังหวัดอุดรธานี ในกระบวนการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนและผู้มีส่วนได้เสียในพื้นที่ตำบล โนนสูง หนองนาคำ หนองไผ่ อำเภอเมือง ตำบลห้วยสามพาด ตำบลนาม่วง กิ่งอำเภอประจักษ์ จังหวัดอุดรธานี  (เอกสารประชาสัมพันธ์)
 -บริษัททีมคอนซัลติ้ง เอนจิเนียร์ จำกัด. (2542).รายงานสรุปการประเมินผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมโครงการเหมืองแร่โปแตช.” บริษัทเอเชียแปซิฟิกโปแตช คอร์เปอร์เรชั่น จำกัด.
-ประสิทธิ์ คุณุรัตน์ และเสกสรร ยงวนิชย์. (2547).    เรื่องการศึกษาสภาพและผลกระทบทางเศรษฐกิจ สังคม ของชุมชนที่จัดการทรัพยากรเกลือ ดินเค็มและน้ำเค็มในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน  เอกสารวิจัยชุดโครงการวิจัย  การจัดการทรัพยากรเกลือ ดินเค็มและน้ำเค็ม แบบยั่งยืนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. ,คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
-มูลนิธิฟรีดิก นามัน กลุ่มประชาชนองค์กรพัฒนาเอกชน และมหาวิทยาลัยบางแห่ง. (2533).  ผลกระทบของสิ่งแวดล้อมปัญหาทรัพยากรธรรมชาติภาคอีสาน และผลประโยชน์มหาศาลที่ชาวบ้านไม่ได้ครอบครอง  เอกสารโรเนียว  มปท:มปพ.
-ราชกิจจานุเบกษา. (2522).  ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม  เรื่อง กำหนดพื้นที่ให้เป็นเขตดำเนินการสำรวจ การทดลอง การศึกษา หรือการวิจัยเกี่ยวกับแร่ ราชกิจจานุเบกษา (ฉบับพิเศษ เล่ม 96 ตอนที่ 21) กรุงเทพฯ:สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี.
-ราชกิจจานุเบกษา. (2537).ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่๑๕๓ (พ.ศ.๒๕๓๗)  เรื่องเกลือบริโภค. ราชกิจจานุเบกษา (เล่มที่ 111 ตอนพิเศษ 15 ),กรุงเทพฯ: สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี.
-ราชกิจจานุเบกษา.(2544). พระราชบัญญัติแร่ พ.ศ. 2510. ราชกิจจานุเบกษา มกราคม 2546,กรุงเทพฯสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี.
-สมชัย วงศ์สวัสดิ์และสมเจตต์ จุลวงษ์. (2532).เอกสารดินเค็มกับผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม อุทกวิทยาภาคอีสาน ดินเค็มในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ,กรุงเทพฯ:กรมพัฒนาที่ดิน.
-สันติภาพ ศิริวัฒนาไพบูลย์และสมพร เพ็งคํ่า. (2546). “เหมืองแร่โพแทช:ผลกระทบต่อสุขภาพที่ถูกมองข้าม”. เอกสารประกอบการสัมมนาสมัชชาสุขภาพระดับพื้นที่ภาคอีสานว่าด้วยสิ่งแวดล้อมเกษตรที่เอื้อต่อสุขภาพและนโยบายสาธารณะ. สกลนคร: โรงแรมสกลแกรนด์.
-ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร.(2546) . ทุ่งกุลา อาณาจักรเกลือ 2,500 ปี ภูมิหลังนิเวศวัฒนธรรมของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ,(เอกสารสัมมนา). ณ ศูนย์มานุษยวิทยาสินธร วันศุกร์ที่ 7 กุมภาพันธ์ 2546.

-สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดอุดรธานี.(2544). “เอกสารสรุปความเคลื่อนไหวคัดค้าน โครงการเหมืองแร่โปแตชจังหวัดอุดรธานี”.มปท.,มปพ.
-สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดอุดรธานี.(2544). “เอกสารบรรยายสรุปโครงการเหมืองแร่โปแตชอุดรธานี” ประกอบการตรวจ  ราชการคณะกรรมาธิการร่วมกันเพื่อพิจารณาร่างพระราชบัญญัติแร่, มปท,มปพ.
-หน่วยวิชาการสาขาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ธนาคารแห่งประเทศไทย.(2521).  รายงานการสำรวจ เศรษฐกิจ การผลิตและการตลาด ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ , กรุงเทพฯ :ธนาคารแห่งประเทศไทย.
-อานนท์ เศรษฐเกรียงไกรและคณะ. (2535).   รายงานการศึกษา ความเป็นไปและความเหมาะสมในการจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมเกลือสินเธาว์ อำเภอบ้านดุง จังหวัดอุดรธานี , กรุงเทพฯ : ศูนย์เศรษฐกิจอุตสาหกรรมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กองเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม.
บทความในวารสารและหนังสือพิมพ์
-แก้ว กังสดารอำไพ. (2534).  เมื่อเกลือไม่ใช่เป็นเพียงแค่เกลือหมอชาวบ้าน. ปีที่132 ฉบับที่151 ( พฤศจิกายน) สถาบันวิจัยโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล.
-ชูชีพ ดำรงสันติสุข. (2538).ชีวิตสาวนาเกลือ ท่าหาดยาว ต้มดินให้เป็นเกลือ อาชีพที่ไม่ต้องมีทุนรอนมติชนรายวัน (18 มิถุนายน 2538) :11.
ณรงค์ ถิรมงคล. (2521). ข้อคิดเห็นการกำเนิดเกลือโพแทชในภาคอีสานวารสารข่าวสารการธรณี ปีที่ 23 ฉบับที่7( กรกฎาคม ) :25-39.
-ธุรกิจก้าวหน้า. (2535).   “เกลือปรุงทิพย์ บุกตลาด เน้นจุดขาย มีธาตุไอโอดีนเป็นส่วนผสม” คอลัมน์เจาะตลาด (มีนาคม) :102-104.
-บุญชัย เจียมจิตจรุง. (2535).  ระวังเกลือท่วมประเทศ ผันนาเกลือเป็นเหมืองโปแตช ฐานเศรษฐกิจ (24 กุมภาพันธ์ ถึง 1 มีนาคม ):3
-ประสาท สายดวง. (2540).  ต้มเกลือสินเธาว์ที่หนองเค็ม ภูมิปัญญาชาวบ้านอันล้ำค่า  มติชน (17 มีนาคม  2540 ):32
-ประเสริฐ วิทยารัฐ.  (2538).   เกลืออีสาน วารสารสุโขทัยธรรมมาธิราช ปีที่8 ฉบับที่3 (ก..-..2538) : 36-  50.
พจน์ เกื้อกูล. (2518).  บ่อพันขันเมืองโบราณ ปีที่2 ฉบับที่1( ตุลาคม-ธันวาคม ) หน้า 72-80.
-พงษ์เทพ จารุอำพรรณ. (2534).สภาพปัญหาและมาตรการแก้ไขการทำเกลือในภาคตะวันออกเฉียงเหนือในภาคตะวันออกเฉียงเหนือรัฐสภาสาร ปีที่39 ฉบับที่2 (กุมภาพันธ์ ):72-85.
-มติชน. (2538).   พลิกปูมศึก 3 เส้า แอ่งเกลือ บ้านม่วง-วานรนิวาส สกลนคร มติชน ( 17 มกราคม):6.
-มยุรี อัครบาล. (2547 ).   นาเกลือโบราณ วิถีชีวิตลูกอีสานที่กำลังหายไป  คมชัดลึก  (12 กุมภาพันธ์ 2547):38.
-วรรณา ศรีขจร. (2520 ).     สถานการณ์แร่โปแตชของโลก ข่าวสารการธรณี,ปีที่22 ฉบับที่1 (มกราคม):50-54.
-วีระ สุดสังข์.(2535).   โดยคำถามถึงโขงชีมูล ผันน้ำมาละลายภูเขาเกลืออาทิตย์ข่าวพิเศษ ปีที่17(1) ฉบับที่864(7) 31 ธันวาคม –6 มกราคม:15.
-แวน เลียร์. (2515).       “Salt and Settelment in Northeast Thailand”  เมืองโบราณ ปีที่2 ฉบับที่8  (เมษายน -กรกฎาคม) :112-116.
-ศรีศักร วัลลิโภดม.  (2535).เกลืออีสาน  วารสารเมืองโบราณ ปีที่18 ฉบับที่1 (มกราคม-มีนาคม). กรุงเทพฯ : เมืองโบราณ.
-สุริยา สมพงษ์. (2535) .  จากวันวานถึงวันนี้คืนชีวิตลำน้ำเสียวแนวหน้า (28 เมษายน):8.
-เสวต จันทรพรม. (2535).  “17 ปีแห่งความระทมของคนอีสาน นาเกลือส่งผลร้ายไทยรัฐ  (28 มกราคม   2538):5 .
-ไสว สุนทโรวาท. (2521).   โปแตชอยู่หนใด ข่าวสารการธรณี ,ปีที่22 ฉบับที่11(พฤศจิกายน): 37-43.และโปแตชตอนอวสาน (5) ข่าวสารการธรณี ปีที่23 ฉบับที่3(มีนาคม) :7-16.
-เอมอร จงรักษ์.(2521).  สถานการณ์แร่โปแตชปี2515-2519ข่าวสารการธรณี ,ปีที่24 ฉบับที่7 (กรกฎาคม)43-53.
-อัษฎา วนาทรัพย์ดำรง. (2529).   ขุมทองคำขาวเกลือบรบือเดลินิวส์ ( 21 มิถุนายน ) :8.

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

การนอน มานุษยวิทยาและนักมานุษยวิทยา โดย นัฐวุฒิ สิงห์กุล

 เข้านี้หลังจากตื่นนอน อยากเขียนการนอนในมิติทางมานุษยวิทยากับนักมานุษยวิทยา...    ผมเริ่มต้นกับการลองตั้งคำถามเพื่อหาความรู้เกี่ยวกับการนอนว่า อะไรคือการนอน ทำไมต้องนอน นอนที่ไหน นอนเมื่อไหร่ นอนอย่างไร นอนกับใคร นอนเพื่ออะไรและอื่นๆ..เพื่อจะได้รู้ความสัมพันธ์ของการนอนในมิติต่างๆ การนอนของสิ่งมีชีวิตชนิดอื่นๆแตกต่างจากมนุษย์หรือไม่    หากเปรียบเทียบการนอนของ มนุษย์กับสัตว์สปีชี่ส์อื่นมีการนอนต่างกันหรือเหมือนดันอย่างไร ตัวอย่างเช่น ยีราฟจะนอนครั้งละ 10 นาที รวมระยะเวลานอนทั้งหมด 4.6 ชั่วโมงต่อวัน สัตว์จำพวกค้างคาว และเม่นมีการนอนมากกว่าสัตว์อื่นๆเพราะใช้เวลานอน 17-20ชั่วโมงต่อวัน    สำหรับมนุษย์ การนอนคือส่วนสำคัญอย่างหนึ่งในประสบการณ์ของมนุษย์ การสำรวจการนอนข้ามวัฒนธรรมน่าจะทำให้เราเข้าใจความหมายและปฎิบัติการของการนอนที่มีความซับซ้อนมากขึ้น..     การนอนอาจจะเป็นเรื่องของทางเลือก แต่เป็นทางเลือกที่อาจถูกควบคุมบังคับ โดยโครงสร้างทางสังคมวัฒนธรรม นอนเมื่อไหร่ นอนเท่าไหร่ นอนที่ไหน นอนอย่างไร และนอนกับใคร..     ในสังคมตะวันตก อุดมคติเก...

เฟอร์ดิน็องต์ เดอร์ โซซูร์

เฟอร์ดิน็องต์ เดอร์ โซซูร์ (1857-1923) นักภาษาศาสตร์ชาวสวิสเซอร์แลนด์ เป็นผู้มีบทบาทอย่างสำคัญในประวัติศาสตร์ของพวกโครงสร้างนิยม   ที่มีบทบาทสำคัญในการพัฒนาสัญวิทยาในช่วงปลายศตวรรษที่ 19 และช่วงต้นศตวรรษที่ 20 โดยเฉพาะการเคลื่อนไหวของ เลวี่ สเตร๊าท์ (Levi-Strauss) ชาร์ค ลากอง (Jacques Lacan) และ โรล็องต์ บาร์ธ (Roland Barthes) รวมถึง มิเชล ฟูโก้ (Micheal Foucault) ที่ได้กลับมาวางรางฐานและปฎิเสธเกี่ยวกับโครงสร้างนิยม ภายใต้ทิศทางใหม่ของหลังโครงสร้างนิยม (Post-Structuralism) ในคำบรรยายเริ่มแรกของเขาที่มหาวิทยาลัยเจนีวา ในช่วงปี 1906-1911 และการตีพิมพ์โครงร่างงานของเขาที่เขียนไว้ และคำบรรยายของเขาที่ลูกศิษย์ได้รวบรวมไว้ ภายหลังการมรณกรรมของเขาเมื่อปี 1915-1916   ภายใต้ชื่อ Course de linguistique   Generale ซึ่งถูกแปลเป็นภาษาอังกฤษและเผยแพร่ในยุโรป ภายใต้ชื่อ Course in general linguistic ในปี 1960 เขาได้นำเสนอความคิดว่า การศึกษาภาษาศาสตร์ในปัจจุบัน สามารถศึกษาได้อย่างเป็นวิทยาศาสตร์ ซึ่งน่าจะได้รับอิทธิพลจากอีมิล เดอร์ไคม์ (Emile D...

พิธีกรรม สัญลักษณ์ และ Victor Turner โดยนัฐวุฒิ สิงห์กุล

  พิธีกรรมวิเคราะห์แบบ  Victor turner  ที่ได้รับอิทธิพลทางความคิดจาก  Arnold Van Gennep  ที่มองภาวะภายในของจักรวาลที่ถูกจัดการให้มีลักษณะของการเปลี่ยนผ่านหมุนเวียนของช่วงเวลา  (Periodicity)  ที่จะส่งผลกระทบต่อวิถีชีวิตของมนุษย์   จะทำอะไร   จะปลูกอะไร   ชีวิตของมนุษย์ก็เหมือนกับภาวะของธรรมชาติ   ทั้งตัวปัจเจกชนและกลุ่มสังคม ล้วนแล้วแต่เชื่อมโยงสัมพันธ์ไม่มีส่วนใดที่สามารถแยกขาดได้อย่างอิสระ   โดยพิธีกรรมดังกล่าวจะแบ่งออกเป็น  3  ระยะคือ 1.rite of separation  หรือขั้นของการแยกตัว   ถือว่าเป็นส่วนของพิธีกรรมที่เกี่ยวข้องกับการแยกตัวเองจากสถานภาพเดิม   ผ่านพิธีกรรมที่ทำให้บริสุทธิ์  (purification rites)  เช่น   การโกนผม   การกรีดบนเนื้อตัวร่างกาย   รวมถึงการตัด   การสร้างรอยแผลเป็น   การขลิบ  (scarification or cutting)  ที่เกิดขึ้นกับอวัยวะส่วนใดส่วนหนึ่ง 2.rite of transition  เป็นส่วนของพิธีกรรมที่ว่าด้วยการเปลี่ยนสภาพ   โดยบุคคลที่ร่วมในพิธีกรรมจะมีก...