วันอังคารที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561

ร่างกาย : ความเจ็บป่วยทางร่างกายและความเจ็บป่วยทางสังคม

ร่างกาย : ความเจ็บป่วยทางร่างกายและความเจ็บป่วยทางสังคม
บทความเรื่อง On Suffering and Structural Violence : A View from Below by Pual Farmer ซึ่งปรากฏในหนังสือชื่อ The anthropology of politics. A Reader in Ethnography,Theory and Critique (2002) ที่มี Joan Vincent เปนบรรณาธิการ บทความชิ้นนี้เปนงานของ Paul Farmer แพทยและนัก มานุษวิทยาที่สนใจมองลงไปที่ความเจ็บปวยที่ไมไดมีสาเหตุหรือเกิดจากตัวเชื้อโรคอยางที่ความรูทาง วิทยาศาสตรการแพทยเชิงกายภาพพยายามอธิบายเกี่ยวกับความเจ็บปวยของรางกายและอวัยวะตางๆ ที่เรียกวา ความผิดปกติ โดยมีเชื้อโรค ทั้งไวรัสและแบคทีเรีย เปนตัวแปรสําคัญที่ทําใหเกิดภาวะการเจ็บปวย แต Paul Farmer กลับมองวาสาเหตุของโรคภัยเจ็บที่มนุษยกําลังเผชิญ มีนัยทางเศรษฐกิจ การเมือง สังคมและวัฒนธรรม เกี่ยวของอยูดวย และเปนสาเหตุสําคัญที่ทําใหคนตกอยูในสภาวะที่ผิดปกติ มีเชื้อโรคและเกิดภาวะที่เรียกวาความ เจ็บปวย ซึ่งเปนการอธิบายความเจ็บปวยที่มีมิติทางสังคม การเมือง เศรษฐกิจและวัฒนธรรม ที่ไมใชวิธีคิดแบบ วิทยาศาสตรเพียงอยางเดียว Pual Farmer กลาววา คนทุกคนบนโลกรูวาความทุกขทรมานมีอยูจริงในชีวิตประจําวันของเรา ตัวอยางเชน เวลาเราปวดทองหรือปวดหัว จนแทบทําอะไรไมได อาการเหลานี้ปรากฏใหเห็นทางรางกาย ไมวา จะยืนทรงตัวไมอยู น้ำตาไหลพราก นอนบิดตัวไปมา ดวยความรูสึกปวดที่อยูขางใน นอกจากนี้ยังมีทุกขทาง จิตใจที่สงผลตอรางกาย เชนการพลัดพรากจากคนที่เรารัก จนกินไมไดนอนไมหลับ เปนตน สิ่งเหลานี้คือความ ทุกขทรมานที่มนุษยทุกคนลวนตองเผชิญ แตสิ่งที่นาสนใจก็คือแมวาเราจะรูวาความทุกขทรมานมีอยูและดํารง อยูในชีวิตของมนุษย แตคําถามที่ยากจะตอบก็คือ เราจะนิยามมันอยางไร วาความทุกขทรมานคืออะไรที่ชัดเจน แนนอน ในเมื่อแตละคนก็มีความเจ็บปวด ทุกขทรมานที่แตกตางกัน มีสาเหตุเบื้องหลังของความทุกขทรมานที่ แตกตางกัน ดังนั้นระดับของความจริงสําหรับคนแตละคนในเรื่องดังกลาวก็ยอมไมเหมือนกัน มันจึงยากที่จะ หาวิธีการที่แนนอนมาอธิบายสิ่งที่เรียกวาความเจ็บปวดทุกขทรมานแตเราสามารถทําความเขาใจมันได นักมานุษยวิทยาสนใจศึกษาประสบการณของปจเจกบุคคลและมิติทางสังคม ความเชื่อมโยงระหวาง สองสวนนี้สะทอนใหเห็นพลังอํานาจหรืออิทธิพลของสังคมที่สรางประสบการณความโศกเศรา ทุกขทรมาน และโรคหรือความเจ็บปวยไปยังปจเจกบุคคล ดังเชน ความยากจนกับการเหยียดสีผิว กลายเปนสิ่งที่ถูกทําให ปรากฏในประสบการณของปจเจกบุคคล ขอความดังกลาวในบทความชี้นนี้ของ Paul Farmar ถือเปนขอ ถกเถียง (Argument) ที่สําคัญ ที่เขาไมไดมองเรื่องของโรคเอดสในแนวคิดแบบการแพทยที่มองผานเรื่องของ
เชื้อโรค รางกายที่เปนพาหะ การติดตอของโรคแตสิ่งที่เขาทําคือการเชื่อมโยงสิ่งเหลานี้เขากับโครงสรางใน ระดับมหภาค โดยการตั้งสมมติฐานวา ทําไมพวกเขาจึงติดเชื้อเอดสหรือทําไมพวกเขาจึงเจ็บปวยและทุกข ทรมาน โดยเขาไดใชกรณีงานศึกษาวิจัยประเทศเฮติ (Haiti)  ของเขา สะทอนใหเห็น ความสัมพันธของพลัง อํานาจและอิทธิพลทางการเมือง และเศรษฐกิจ ที่เปนโครงสรางของความเสี่ยงเกี่ยวกับโรคเอดสและวัณโรค  รวมทั้งโรคติดเชื้ออื่นๆและโรคพยาธิ โครงสรางทางเศรษฐกิจ การเมือง เกี่ยวของกับรูปแบบของความทุกข ทรมาน (Suffering) อยางมากที่สุด ที่เกิดจากความหิว ความทุกขทรมานและการถูกขมขืน ที่สัมพันธกับ กระบวนการกลายเปนโรคเอดสของประชาชนในประเทศเฮติ สิ่งที่ Farmer กลาวไวนาสนใจวา ความรุนแรง ทางโครงสรางมีความสัมพันธกับประสบการณความทุกขทรมานของมนุษย เพราะประสบการณหรือเรื่องราว ในชีวิตของเขา โดยเฉพาะความเจ็บปวดและทุกขทรมานสะทอนใหเห็นโครงสรางและความรุนแรงเชิงโครงสรางที่กระทํากับรางกายและจิตใจของเขา การจะมองเห็นหรือเขาใจความทุกขทรมานดังกลาว เขาบอกว่าจะ    ตองยอนไปสูการตั้งคําถามเกี่ยวกับความหมายและความจริงในประวัติศาสตรของมานุษยชาติ  Pual Farmer อธิบายเกี่ยวกับโครงสรางความรุนแรง โดยพิจารณาถึงประเด็นทางภูมิศาสตร และ เชื่อมโยงไปสูการวิเคราะหประวัติศาสตรเชิงลึก เพื่อใหเขาใจโครงสรางทางเศรษฐกิจ สังคมและการเมืองใน ปจจุบัน  ดังที่เขากลาวถึงภูมิหลังทางประวัติศาสตรของประเทศเฮติ ที่เขาเนนย้ำวา ความทุกขทรมานคือ โครงสรางที่ถูกกําหนดโดยประวัติศาสตร และบอยครั้งเกี่ยวของกับพลังขับเคลื่อนทางเศรษฐกิจ ดังนั้นชีวิต ของผูคนที่นี่ กลายเปนสวนหนึ่งของโครงสราง ที่เกิดจาก ลัทธิเหยียดผิว (Racism) การแบงแยกทางเพศ (Sexism) ความรุนแรงทางการเมือง (Political Violence) และความยากจนอยางรุนแรง (Grinding Poverty) ประเทศเฮติในปจจุบัน เต็มไปดวยความรุนแรงทางการเมือง ที่นําไปสูความยากจนที่เลวราย สภาวะการ ใชชีวิตที่อยูกับสงคราม  การตอสูดิ้นรนเพื่อใหไดมาซึ่งอาหารและน้ำ  การไรที่ดินทํากิน อายุขัยเฉลี่ยของคนที่นี่นอยกวา 50 ป เด็กทารกที่คลอดออกมา 2 ใน10 คนเสียชีวิต วัณโรคเปนสาเหตุการตายของผูใหญ เปนตน โดยเฉพาะสิ่งที่ Farmer กลาววา ในประเทศเฮติ โรคเอดส(AIDS) และความรุนแรงทางการเมือง เปนสอง สาเหตุหลักเกี่ยวกับความตายของคนในวัยทํางาน ประเด็นสําคัญคือการวิเคราะหโครงสราง เพื่อใหเห็นระบบโครงสรางและกลไกลที่สรางสถานการณ บางอยางใหปรากฏ เชน ทําไมคนรวยถึงรวยมากขึ้น ทําไมคนจนถึงจนลง ที่มันสัมพันธกันในแงของคนจนที่ ตองยอมเสียสละใหกับคนอื่น ดังเชนกรณีของโรคเอดสการทดสอบเรื่องนี้ของ Farmer เริ่มตนจากการวิเคราะห สภาพทางภูมิศาสตร (Geographically)และวิเคราะหในเชิงประวัติศาสตร(Historically) ที่ไดใหภาพการถูกกดขี่ ทางอํานาจตั้งแตการลักพาตัวพวกเขามาจากแอฟริกาตั้งแตครั้งบรรพบุรุษ เพื่อมาทํางานในไรออย ไรกาแฟ ไร ฝายที่สรางความรุงเรืองในเรื่องการคาทางเศรษฐกิจซึ่งเปนเรื่องราวในประวัติศาสตร ซึ่งสะทอนใหเห็นปจจัย ทางเชื้อชาติ ชาติพันธุ ทางเพศสภาวะ และสถานภาพทางเศรษฐกิจสังคม ที่แสดงใหเห็นการแสดงบทบาทของปจเจกชนหรือกลุมที่เปราะบางและออนแอซึ่งสัมพันธกับความทุกขทรมานอยางเขมขนที่พวกเขาเหลานี้ตอง เผชิญอยางหลีกเลี่ยงไมได
กรณีของ Acephie ที่อาศัยอยูในชุมชนเล็กที่ชื่อวา Kay ที่มีประชากรนอยกวา 1,500 คน เปนเมืองที่อยู ใกลเมืองหลวงของเฮติ ใชเวลาเดินทางประมาณ 1 ชั่วโมง โดยพื้นที่บริเวณนี้มีความสัมพันธกับโครงการ พัฒนาทุนนิยมในเฮติที่ถูกวางแนวทางจากวอชิงตันดีซี อเมริกา เมือง Kay เปนถิ่นฐานของผูอพยพที่ ประกอบไปดวยชาวไรชาวนา ที่อพยพเขามาอาศัยอยูที่นี่มาก 30 ปแลว เมื่อมีโครงการสรางเขื่อนขนาดใหญ ที่สุดในเฮติ กอนป 1956 หมูบาน Kay ตั้งอยูบนหุบเขาที่มีความอุดมสมบูรณ ที่ประชาชนกวา 1,000 ครอบครัวทําฟารมและขยายพื้นที่ลาดลงมาจนถึงที่ราบลุมริมแมน้ํา พวกเขาขายพืชผลทางการเกษตร เชน ขาว กลวย ขาวฟาง ออยและขาวโพด ในตลาดของแควน วิถีชีวิตเปนอยูอยางเรียบงายตามแบบชนบท ตอมา เมื่อมีการสรางเขื่อนพื้นที่บริเวณนี้ถูกน้ําทวมและประชาชนในพื้นที่ตรงนี้ ไดอพยพขึ้นไปอยูบนที่สูงซึ่งมี ลักษณะภูมิประเทศเปนภูเขา สภาพพื้นดินเปนหินภูเขา ทําการเพาะปลูกไมได ซึ่งตอมาพื้นที่บริเวณนี้ถูกจัดใหเปนเขตอนุรักษใหม พวกเขาถูกเรียกวาเปน คนอพยพหนีน้ำ (Water Refugee) และสงผลใหพวกเขา ยากจนมากยิ่งขึ้น ภายใตโครงสรางอันมหึมาของเขื่อน  แตสิ่งที่สรางความขมขื่นใหกลับพวกเขาก็คือ การ สรางเขื่อนดังกลาวไมไดนําไปสูไฟฟาหรือน้ำสําหรับการใชประโยชนของพวกเขา  ในชวงป 1983  โรค เอดสไดกลายเปนสาเหตุของความเจ็บปวยที่รุนแรงในพื้นที่ตรงนี้ และจํานวนผูติดเชื้อที่เพิ่มมากขึ้น รวมถึง ผูคนในชุมชนนี้ก็ยังไมรูจักเกี่ยวกับโรคเอดสมากนัก  Acephie Joseph เปนคนแรกของหมูบานที่ตายดวยโรคใหมที่ไมมีใครรูจักนี้ หลอนเผชิญกับความ เจ็บปวยนี้และเสียชีวิตในป 1991 ชีวิตของเธอถือเปนสิ่งที่นาสนใจและแสดงใหเห็นโศกนาฎกรรมที่นา เศรา ชีวิตของเธอมาจากครอบครัวชาวนาที่ประกอบอาชีพทํานา ทําสวน และขายผลผลิตมาตั้งแตบรรพ บุรุษ  เมื่อเกิดการสรางเขื่อน ชีวิตของเธอและครอบครัวก็เปลี่ยนแปลงไป พื้นที่เพาะปลูกและพืชผลของ เธอจมน้ำหายไป และทําใหพอ แม เธอและนองตองอพยพโยกยายไปอยูที่สูงที่สภาพเลวรายเต็มไปดวยฝุน หิน แตพวกเธอก็พยายามเพาะปลูกในพื้นดินที่เลวรายนั้น   เธอเรียนจบระดับชั้นประถมศึกษาที่ทําใหพอ อานออกเขียนไดบางเหมือนกับเด็กวัยรุนคนอื่นๆในหมูบาน  ลักษณะของ Acephie เธอเปนดี คนสวย และ เอื้ออาทรตอผูอื่น เมื่อเธออายุได 19 ป เธอทํางานหารายไดชวยเหลือครอบครัวที่กําลังจกอยูในสภาวะลม จนและยากจนอยางหนัก  เธอชวยเหลือพอแมของเธอในการนําผลผลิตไปขายที่ตลาดของเมือง ทุกเชาวัน ศุกร ดวยการเดินเทาใชเวลาประมาณครึ่งชั่วโมงถึงหนึ่งชั่วโมง โดยระหวางทางเธอจะผานที่ตั้งของคาย ทหารดวยความสาวและสวยของเธอ ทําใหทหารหลายคนจองมองเธอและบางครั้งก็เรียกเก็บภาษีจากเธอ พรอมกับพูดจาเหยาแหยแทะโลมเธอ  สิ่งที่นาสนใจคือในเฮติการหลุดพนจากความยากจนมีความสัมพันธ กับอาชีพทหาร เพราะผูชายที่เปนทหารคือคนที่มีเงินเดือนและถือวามีฐานะในกลุมคนละแวกนี้ ซึ่งสราง ความดึงดูดใจใหกับเพศตรงกันขาม ในขณะเดียวกันความอดอยากหิวโหยเปนสิ่งที่เกิดขึ้นเกือบจะทุกวัน ในครอบครัวของเธอ เริ่มตั้งแตโครงการสรางเขื่อนที่เริ่มตนขึ้นและทําใหน้ําทวมที่ราบหุบเขา เมื่อความ สวยของเธอเปนที่ตองตา นายทหารอยาง Jacques Honoral  แมวาเธอจะรูวาเขามีภรรยา มีลูกรวมถึงความ เขาชูที่มีผูหญิงหลายคน แตเธอก็ไมสามารถทนการรบเราจากเขา และเมื่อเขาไปพูดกับพอแมของเธอ จนกระทั่งทั้งคูมีความสัมพันธฉันทชูสาวกัน และเปนคูรักที่มีเพศสัมพันธกันเปนครั้งคราวเทานั้น จนกระทั่ง Honorat รูสึกไมสบายดวยอาการปวยที่ไมสามารถอธิบายได และเก็บตัวเงียบอยูในบริษัทของ ภรรยาเขา เวลาผานไปนานจน Acephie ลืมเกี่ยวกับทหาร และตองช็อคเมื่อไดยินขาววาเขาตายแลว เธอ ตองพบกับชวงเวลาเลวรายในชีวิต ของเธอและเดินทางไปที่เมือง Mirebalais  และเริ่มตนเรียนในโรงเรียนสำหรับสอนทําอาหาร ซึ่งเปนเสมือนที่บมเพาะผูหญิงสําหรับการเตรียมตัวไปทํางานเปนคนรับใชในเมืองในครอบครัว ของผูอาศัยอยูในเขตอุตสาหกรรมที่เติบโตอยางรวดเร็วในประเทศเฮติ จนเมื่ออายุ 22 ป เธอไดทํางานเปน แมบานใหกับครอบครัวชนชั้นกลางชาวเฮติที่ทํางานในสถานฑูตอเมริกัน  โดยทําหนาที่ทําความสะอาด รับโทรศัพท เปดประตูบาน เธอไดเงินเดือน 30 ดอลลารตอเดือน และพยายามเก็บรวบรวมเงินเพื่อพอแม และนอง จนเธอมีโอกาสไดรูจักกับ Blanco Werette ชายหนุมที่รูจักกันเมื่อสมัยเรียนและทําอาชีพขบรถบัส เล็กๆที่วิ่งระหวางเมืองหลวง แนนอนวาอัตราการวางงานในประเทศเฮติมีมากกวา 60 เปอรเซ็นต งานของ Blanco จึงถือวาไวรับความไววางใจและสามารถพิชิตใจ Acephie ได และเริ่มวางแผนที่จะแตงงานกัน จนกระทั่งเธอตั้งครรภและบอก เขา แตทาทีของเขาก็เปลี่ยนไป เขามาหาเธอนอยลง และมีเรื่องทะเลาะกัน บอยขึ้น สุดทายเธอก็คลอดลูกสาวออกมาจนกระทั่งแพทยวินิจฉัยวาเธอเปนเอดส รางกายของเธอก็เริ่มทุรด โทรมและออนแอ จากอาการออนเพลียและทองเสีย คนในหมูบานคิดวาเธอคงเปนเหยื่อของพอมดหมอผี  บางคนซุบซิบวาเธอมีความสัมพันธกับทหารหรือแมแตเจานายในบานที่เธอทํางานเปนคนรับใชในเมือง คนในทองถิ่นมองวาเธอมีความเสี่ยงที่จะเปนเอดส แมวาตัวเธอเองก็รูวาเธอเปนโรคเอดส แตเธอก็พยายาม อธิบายใหคนอื่นฟงวาเธอไดรับความทุกขทรมานและการเสียระเบียบของรางกายจากการทํางานเปนคนรบั ใชที่ตองรีดฝา เปดตูเย็น ชีวิตของAcephie และลูกสาวตองเผชิญความทุกขทรมาน ชีวิตของเธอสัมพันธกับผูชายสองคน คนแรก เปนทหารมีภรรยาอยูแลว และยังมีคูนอนคนอื่นมากกวา 2 คน เขาปวยและเสียชีวิต ทิ้งใหภรรยาคนแรก ตองดูแลลูกที่มีอยูและในจํานวนนั้นเปนคนปวยและมีเชื้อHIV ในขณะที่สามีคนที่สอง เปนชายหนุมรูป หลอ ที่ขับรถระหวางเมือง เขาเปนชายหนุมที่ดูเหมือนสุขภาพดี ซึ่งก็ไมมีใครรูวาเขาจะไดรับเชื้อHIV และ เปนพาหะตอไปหรือไม แตเขาก็ยังคงใชชีวิตตามปกติและเปนที่หมายปองของบรรดาสาวๆ แตเรื่องที่นา เศรากวานั้นคือหลังจากเธอเสียชีวิต พอของเธอก็ผูกคอตายตามมาจากความทุกขทรมานในชีวิตที่เขาไดรับ  เรื่องราวชีวิตของ CHOU CHOU LOUIS ก็ไมตางกันกับเรื่องของ ACEPHIE เขาเกิดในเมืองที่ไมไกล จากเมือง Kay เปนหมูบานเล็กๆในพื้นที่ราบสูงที่ไมคอยอุดมสมบูรณ เขาตั้งใจจะเรียนชั้นประถมศึกษาแต ก็มีเหตุการณบังคับใหตองออกจากโรงเรียน เนื่องจากแมของเขาตาย ในวัยเด็กกับพอแมและพี่สาวของเขา ประกอบอาชีพทําไรทําสวนอยูบนเขา ชีวิตเรียบงายไมมีอะไรนาสนใจเชนเดียวกับผูคนอื่นๆในชนบทของ
ประเทศเฮติ ในชวงป 1980 ที่กิจกรรมของโบสถถูกจัดตั้งขึ้น ในชวงเวลานี้เปนชวงที่ยากลําบากสําหรับคน ยากจนในเฮติ เผด็จการทางอํานาจที่ควบคุมมากวา 3 ทศวรรษ โดย Duvalier ที่สรางกฎเกณฑที่เขมงวด และรุนแรงกับประชาชน ดวยแรงกดดันเหลานี้ทําใหประชาชนในเฮติสวนหนึ่งพยายามที่จะหลบหนีโดย ทางเรือ นโยบายของสหรัฐอางวา ผูคนที่หลบหนีหรือชาวเฮติเปนพวกอพยพจากเงื่อนไขทางเศรษฐกิจ (Economic Refugee) ในชวงป 1981 ความสอดคลองกันในการบริหารจัดการนโยบายระหวาง ประธานาธิบดี Ronan Ragan ของสหรัฐอเมริกาและประธานาธิบดี Jean Claude Duvalier  ของเฮติ ใน ระหวางชวง10 ปมีบันทึก   วามีชาวเฮติอพยพขามทะเลมาที่สหรัฐอเมริกาถึง 24,559 คน เพื่อลี้ภัยทาง การเมืองในสหรัฐอเมริกา  แตมีเพียงไมกี่รายเทานั้นที่ไดรับอนุญาตใหอยูในอเมริกาที่เหลือสงกลับมายังเฮติ ในชวงเวลาเดียวกับที่เริ่มมีการเคลื่อนไหวประชาธิปไตยในเฮติเพื่อตอตานเผด็จการและนําไปสูการโค่นลมประธานาธิบดี Duvalier หรือที่รูจักในนาม “Baby Doc” ลงจากอํานาจ ในป 1986ชวงเวลานั้น Chou Chou อายุประมาณ 20 ป เขาทํางานในไร ฟงวิทยุและไปโบสถ ซึ่งทําให เขาไดรับขาวเกี่ยวกับการโคนลมอํานาจของประธานาธิบดี Duvalier เหมือนผูคนในชุมชนชนบทอื่นๆ เขา เริ่มกังวลใจเกี่ยวกับอํานาจที่ถูกยึดกุมโดยกระบอกปนของกําลังทหาร โดยการสนับสนุนของกองทัพ อเมริกันและเขามาสรางรูปแบบกองทัพใหมใหกับเฮติ ดวยสโลแกนวาเฮติกําลังจะกาวสูประชาธิปไตยที่ดี ที่สุด และในอีก 18 เดือนตอมาเงินจํานวนกวา 200 ดอลลารจากกองทุนในเอมริกาไดสงผานมาไวในมือ ของรัฐบาลที่มีทหารเขามาบริหารประเทศ ในป 1989 เขากลับมาหา Chantal Brisé เพราะวาภรรยาของขา ตั้งครรภทําใหเขาไดกลับมาอาศัยอยูรวมกับครอบครัว  ในระหวางนั้นซึ่งกําลังเปนชวงเริ่มตนของ ประชาธิปไตยในเฮติ นาย Jean-Bertrand Aristide ผูซึ่งเปนผูนําในการเคลื่อนไหวเรียกรองประชาธิปไตย ตองการลงสมัครคัดเลือกเปนประธานาธิบดีที่จะมีการเลือกตั้งในชวงเดือนธันวาคมป 1990 ผลการเลือกตั้ง ปรากฏวาประชาชนมากกวา 70 เปอรเซ็นตเลือกเขาในจํานวนผูลงสมัครคัดเลือกประธานาธิบดีทั้งสิ้น 10 คน เชนเดียวกับประชาชนเฮติอื่นๆ และภรรยารูสึกมีความสุขกับชัยชนะของ Aristide แตไมนานเขาก็ถูก รัฐประหารโดยทหารในเดือนกันยายนป 1991 ในชวงหลังรัฐประหาร Chou Chou นั่งโดยสารไปกับรถบรรทุกขนสงไปยังเมือง Hinche ระหวาง เดินทางเขาไดบนเกี่ยวกับถนนหนทางที่ยังสรางไมแลวเสร็จ เขาตําหนิการรัฐประหารดวยภาษาที่รุนแรง
แตโชคไมดีที่มีผูโดยสารที่นั่งมาคนหนึ่งเปนทหารนอกราชการ (out of Uniform) ที่ลากเขาลงมาจาก รถบรรทุก กลุมของทหารและคนติดตาม เริ่มทํารายChou Chou โดยการทุบตีเขาตอหนาผูโดยสารคนอื่นๆ และนําเขาเขาไปในคายทหารในเมือง Hinche สิ่งที่เขาไดรับก็เชนเดียวกับผูชายชาวเฮติทั่วๆไป การอยูในสภาวะยกเลิกกฏหมายและการถูกควบคุม โดยทหาร ทําใหทหารมีอํานาจและขึ้นบัญชีดําสําหรับผูตอตานหรือเปนปฏิปกษ Chou Chou ถูกจับเขาคุก ถึงสองครั้งโดยไมมีเหตุผล และเขาถูกทรมานโดยทหารและผูที่เรียกวา “Attachés”  ในเดือนมกราคมป 1992 Chou Chou ถูกทิ้งเพื่อใหเขาตายที่คูน้ำ  กองทัพได้กลาวปิดปังและโกหกเกี่ยวกับวงจรของความขาดแคลนยากจนที่ทําใหเขาตองขโมยกลวยจํานวนหนึ่ง และสงเขากลับมาที่บาน เมื่อผูเขียนพบวาแทบจะจํา Chou Chou ไมได เนื่องจากใบหนาของเขา โดยเฉพาะขมับดานซายผิดรูปไปมาก ปากของเขามีเลือดกระจุกเปนกอน  เหมือน ถูกทรมาน  รวมทั้งบริเวณลําคอมีอบคลายถูกแทง ซี่โครงหัก มีรองรอยกระสุน รวมถึงอวัยวะสืบพันธุถูก ตัด  นี่คือสภาพภายนอกของเขาที่สันนิษฐานวา เขาถูกตีอยางรุนแรงจาก   ดานหลังและตนขาของเขาถูก เฆี่ยนตีอยางหนัก สะโพกของเขาเป็นแผลเปื่อยยุย รอยแผลที่สกปรกเหลานี้ถูกทําใหปรากฏที่นําไปสูการติดเชื้อ Chou Chou ไอมากขึ้นและมีเลือดออกม เขาหายใจไดยากลําบากมากขึ้นและจํานวนของเลือดที่เขาไอ ออกมาเพิ่มขึ้น เหมือนการถูกทุบตีจะทําใหเขาเกิดภาวะเลือดคั่ง และนําไปสูสภาวะการที่เลวราย ไปที่ปอด ของเขา หัวของเขาบาดเจ็บ และหลังจากนั้นสามวันเขาก็เสียชีวิต จากเรื่องราวประสบการณชีวิตของทั้งสองกรณีสะทอนใหเห็นสิ่งที่เรียกวาความทุกขทรมานที่นําไปสู ความเจ็บปวยและความตาย โดยเรื่องราวในชีวิตของพวกเขาสะทอนประสบการณความทุกขทรมานที่มี เงื่อนไขที่เหมือนและแตกตางกัน ดังนี้

อยางกรณีตัวอยางของ Acephié เห็นไดอยางชัดเจนถึงกรณีที่ farmer ตองการชี้ใหเห็นความรุนแรงเชิง โครงสรางตอปญหาของการติดเชื้อและแพรระบาดเอชไอวีและการเปนโรคเอดสของผูหญิงชาวเฮติ ความเปน โรคเอดสสัมพันธกับโครงสรางทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม ที่ผูหญิงที่ยากจน เปนผูแบกเอาความกดดันตางๆที่หนักหนวงในชีวิต ความจริงดังกลาวไมไดมีแคเรื่องของความรุนแรงในครอบครัว การขมขืนเทานั้นแต มันยังเกี่ยวของกับโรคเอดสดวย ซึ่งสัมพันธกับสิ่งที่นักมานุษยวิทยาอยาง Martha Ward บอกวา ไมวาจะเปน ผูหญิงอเมริกัน แอฟริกัน-เอมริกัน หรือสเปน  ก็เสี่ยงกับโรคเอดสทั้งนั้น สิ่งที่ทําใหพวกเธอเสี่ยงไมใชเชื้อชาติ แตเปนเพราะวาความยากจนของพวกเธอตางหาก  ดังนั้นวิธีการวิเคราะหความรุนแรงเชิงโครงสรางของ farmer จึงมีความนาสนใจในแงที่เขามองความ ทุกขทรมานของมนุษยที่ถูกกระทําผานความรุนแรงของโครงสรางทางสังคมและสงผลตอความเจ็บปวยของ พวกเขาซึ่งไมใชเพียงเรื่องของเชื้อโรคอยางเดียว แตเขาพิจารณาถึงสิ่งที่เรียกวา แกน (axis) ของการวิเคราะหที่ หลากหลาย โดยไมเลือกพิจารณาแคแกนใดแกนหนึ่งเพียงแกนเดียว แตมองเชื่อมโยงใหเห็นแกนตางๆที่ เชื่อมโยงกับความรุนแรงเชิงโครงสรางนั้น เชน  เรื่องเพศสภาพ เพศสภาวะ (Gender) เรื่องความเปนชาติพันธ (Ethnicity)หรือเชื้อชาติ(Race) ที่สรางการแบงแยกลักษณะทางสังคม ทางชีวิวิทยา ชนชั้น บทบาททางเพศ ที่ นําไปสูความไมเทาเทียม การเลือกปฏิบัติและการครอบงําทางอํานาจที่เปนสาเหตุของความทุกขทรมานและ ความเจ็บปวยของผูคนในสังคม  

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

สตรีนิยมกับสิ่งแวดล้อม โดย นัฐวุฒิ สิงห์กุล

Aldo Leopold(1994) เขียนหนังสือที่รวบรวมบทความของเขาชื่อ Sand Country Almanac เขาได้อธิบายถึงปรัชญาของนักสตรีนิยมสิ่งแวดล้อมว่า ผู้หญิงมีควา...