วันศุกร์ที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2556

ตาราง:แสดงรูปแบบและมิติความสัมพันธ์ของวาทกรรมการพัฒนาที่ยั่งยืนกับกลุ่มต่างๆ นัฐวุฒิ สิงห์กุล

ตาราง:แสดงรูปแบบและมิติความสัมพันธ์ของวาทกรรมการพัฒนาที่ยั่งยืนกับกลุ่มต่างๆ

     ใคร

เบื้องหลังหลัก

สิ่งที่วิพากษ์

คู่ตรงข้ามหลัก

ความหมายที่ส่งผ่าน

องค์กรขับเคลื่อน

รูปแบบ

ยั่งยืนอะไร/ เพื่อใคร

วาทกรรมย่อยๆ

บทบาทของเทคโนโลยี
บริษัทเอเชีย แปซิฟิก โปแตช คอร์เปอร์เรชั่นจำกัด (APPC)
กลุ่มทุนข้ามชาติ เช่น จีน แคนาดา
อุตสาหกรรมจัวหวัด
กำนันผู้ใหญ่บ้าน 4 ตำบล
หอการค้าจังหวัด
-เศรษฐกิจ
การเจริญเติบโต
-สภาวะปุ๋ยในตลาดโลก
สถานการณ์ความต้องการของเกษตรกรรมในประเทศ
-การอยู่รวมกันระหว่างเหมืองกับสิ่งแวดล้อม
-การใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ในการจัดการ
-วิกฤตการณ์ของประเทศ
-กลุ่มอนุรักษ์สิ่งแวดลล้อมอุดรธานี
-นักวิชาการที่คัดค้านวิจารณ์
-นักพัฒนาเอกชน
-สร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจ ชุมชน ชาติ ให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม มีมาตรการระวัง ควบคุมและชดเชยผลกระทบที่จะเกิดขึ้น
-อุตสาหกรรมที่ยั่งยืนด้วยมาตรฐานการผลิตและระบการจัดการสิ่งแวดล้อมที่เป็นที่ยอมรับทั้งในและต่างประเทศ
-การพัฒนาเหมืองใต้ดินอย่างต่อเนื่องยาวนานอุดรเหนือใต้ การให้ความสนใจกับสิ่งแวดล้อมการควบคุมดูแลอย่างเข้มงวดในลักษณะยั่งยืนยาวนาน
-บริษัทAPPC
-ฝ่ายชุมชนสัมพันธ์
-กลุ่มสนับสนุนโครงการ
-กลุ่มพิทักษ์สิทธิตนเอง
-อุตสาหกรรมจังหวัด
-หอการค้าจังหวัด
-จัดกิจกรรมต่างๆในชุมขนและร่วมกับชุมชน
-ส่งเสริมอาชีพเช่นเลี้ยงไก่ เพาะเห็ด
-จัดเวทีให้ข้อมูลโครงการตามโรงเรียน หมู่บ้าน กลุ่มต่างๆ
-ร่วมงานประเพณี ผ้าป่า บุญบั้งไฟ บุญกุ้มข้าวและอื่นๆ
-จัดกีฬาระดับตำบล หมู่บ้าน
-ร่วมงานประจำปีทุ่งศรีเมืองของจังหวัด
-ร่วมงานวันอาหารโลก
-จัดหน่วยแพทย์เคลื่อนที่
-ออกสื่อทีวี วิทยุเพื่อประชาสัมพันธ์โครงการ
-ช่วยซ่อมแซมสาธารณูปโภคให้หมู่บ้าน วัด โรงเรียน
-พาสื่อมวลชนและผู้นำไปดูเหมืองในต่างประเทศเช่นออสเตรเลีย แคนาดาและเหมืองแม่เมาะที่ลำปาง
-ร่วมจัดตั้งกลุ่มมูนมังอีสานเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์ประเพณีท้องถิ่น
-สิ่งแวดล้อม
-เศรษฐกิจ
-ชุมชน/สังคม
-ชาติ
-โลก   
-ห่วงใยใส่ใจสิ่งแวดล้อม
-ป้องกันมาตรฐานระดับโลก
-ทำงานร่วมกับชุมชน
-รับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม
-สร้างความสามัคคีในชุมชน
-ครัวโลกในการเกษตร
-ส่งเริมอนุรักษ์ประเพณีวัฒนธรรม ภูมิปัญญาชาวบ้าน
-สิทธิที่จะเป็นส่วนหนึ่งของชุมชน
-ธุรกิจสีเขียวธุรกิจเพื่อสิ่งแวดล้อม
-ความจำเป็นของประเทศชาติและผลประโยชน์ของชาติ
-ความยากจนอดอยาก
-ความเจริญมั่งคั่ง
-เกษตรยั่งยืน
-เทคโนโลยีที่ทันสมัยในการบริหารจัดการแร่อย่างมีประสิทธิภาพและป้องกันผลกระทบที่จะเกิดขึ้น
กลุ่มอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมอุดรธานี
-นักพัฒนาเอกชน
-ชาวบ้านใน4 ตำบล
-นักวิชาการท้องถิ่น
-คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
-การพัฒนาที่ทำลายสิ่งแวดล้อม
-การกอบโกยผลประโยชน์ของบริษัทข้ามชาติ
-การไม่มีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนา
-รายงานการศึกษาวิเคราะห์ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมไม่ครอบคลุม ผิดขั้นตอน ประชาชนไม่มีส่วนร่วม
-กฎหมายแร่ริดรอนสิทธิ
-สัญญาที่ไม่เป็นธรรมกับประเทศ
-ข้าราชการในพื้นที่วางตัวไม่เป็นกลาง
-ความขัดแย้งในพื้นที่
-บริษัทเอเชีย แปซิฟิกโปแตช คอร์เปอร์เรชั่นจำกัด
กระทรวงอุตสาหกรรม
-กลุ่มสนับสนุน
-นิเวศวิทยาเชิงลึกการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติเอาไว้ เก็บไว้ให้ลูกหลานจำเป็นถึงเอาขึ้นมาใช้
-การมีส่วนร่วมของประชาชน การกำหนดอนาคตตนเองในการพัฒนาและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติอย่างสมดุลย์ยั่งยืน
-การยืนยันในวิถีชีวิตเกษตรกรรม
-ภูมิปัญญาชาวบ้าน
ชาวบ้านในพื้นที่ 4 ตำบลของโครงการและบุคคล/กลุ่มทั่วไปในจังหวัดที่ไม่เห็นด้วยกับโครงการ เช่น ประชาสังคม องค์กรภาคประชาชนในจังหวัด สถาบันราชภัฎอุดรธานี
-จัดเวทีเสวนาในระดับพื้นที่และจังหวัดและระดับชาติ โดยเชิญผู้เชี่ยวชาญ นักวิชาการมาให้ข้อมูล
-เดินรณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เกี่ยวกับผล  กระทบของโครงการ
-เคลื่อนไหวโดยการยื่นหนังสือคัดค้าน  พรบ.แร่ และอีไอเอ
-เคลื่อนไหวกดดันระดับจังหวัดเพื่อตั้งคณะทำงานศึกษาผลกระทบจากโครงการเหมืองแร่โปแตช
-สร้างภาคีเครือข่ายนักวิชาการ องค์กรอิสระ นักพัฒนาเอกชนและชาวบ้านที่คัดค้านเคลื่อนไหวกรณีการพัฒนาต่างๆ
-การพาสื่อมวลชนนักศึกษาลงดูพื้นที่โครงการ
-จัดประเพณีบุญกุ้มข้าวใหญ่ระดมทุน
-จัดตั้งสถานีวิทยุชุมชนเพื่อเผยแพร่ข่าวสารของโครงการเหมืองแร่โปแตช
-สิ่งแวดล้อมและสังคม
-วิถีชีวิต
-ชุมชน
-ชาติ(คนไทยทุกคน)
-สิทธิส่วนบุคคล
-สิทธิชุมชน
-กฎหมายรัฐธรรมนูญ
-การกระจายอำนาจ
-ภูมิปัญญาชาวบ้าน
-ทรัพย์สมบัติของเรา คนไทย ชาติไทย
-ห่วงใยต่อสิ่งแวดล้อม
-มั่นคงยั่งยืน
-พอเพียงพออยู่พอกิน
-วิถีเกษตรกรรม
-การพัฒนาต้องมาจากประชาชน
-ขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงาม
-ความจำเป็น/ความต้องการ
เทคโนโลยีทำลายสภาพแวดล้อมและไม่สามารถควบคุมปัญหาได้
-รัฐบาล
-กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ-และสิ่งแวดล้อม
-กระทรวงอุตสาหกรรรม
-กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
-กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่
-กรมทรัพยากรธรณี
-สำนักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดล้อม
-การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติที่ผิดพลาดทำลายความเสื่อมโทรมต่อสิ่งแวดล้อมและไม่คำนึงถึงอนาคตลูกหลาน
-เทคโนโลยีที่ล้าสมัยไม่ได้มาตฐาน
-กลุ่มผู้ขัดขวางความเจริญของบ้านเมืองและการพัฒนา
-ความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจของประเทศควบคู่กับความสมดุลย์ที่ยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
-ส่วนราชการในพื้นที่เช่นจังหวัดอุดรธานี อุตสาหกรรมจังหวัดและกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่เขต11
-ออกเอกสารให้ข้อมูลเกี่ยวกับการทำอีไอเอ ขั้นตอนการขอประทานบัตรของโครงการและความเคลื่อนไหวของชาวบ้านในพื้นที่
-จัดสัมมนาทำยุทธศาสตร์ด้านการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
-ดำเนินการปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย
-ร่วมอยู่ในคณะทำงานระดับจังหวัดและชาติเกี่ยวกับการศึกษาผลกระทบ
-เศรษฐิกิจและสิ้งแวดล้อม
-ชาติ
-คนส่วนใหญ่ของ  ประเทศ
-การจัดการทรัพยากรแร่อย่างยั่งยืน
-ผลประโยชน์ชาติ
-บูรณาการเชิงรุก
-ธรรมาภิบาล
-การมีส่วนร่วม
-การพัฒนา
-ความเจริญและความมั่งคั่ง
-การปรับปรุงเทคโนโลยีให้สอดคล้องกับสภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลง
-เชื่อมั่นในเทคโนโลยีที่ทันสมัยของประเทศพัฒนาแล้วว่าสามารถควบคุมได้อย่างมีประสิทธิภาพ
-จังหวัดส่วนราชการและประชาสังคมในจังหวัด
นักวิชาการท้องถิ่นสถาบันราชภัฎและเครือข่ายทางวิชาการ
-สปรส.
-ราชภัฎอุดรธานี
-เทศบาลนครอุดรธานี
-สภาอุตสาหกรรม
-หอการค้าจังหวัด
-ศูนย์สังฆมลฑลอุดรธานี
-คณะทำงงานพัฒนาศักยภาพองค์กรชุมชนอุดรธานี
-กลุ่มอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
-เครือข่ายวิทยุชุมขน
-เครือข่ายอาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภคอุดรธานี
-สมัชชาเด็กและเยาวชนอุดรธานี
และอื่นๆ
-ประชารัฐ
-การแย่งชิงทรัพยากรและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติของท้องถิ่น
-การมีส่วนร่วมของประชาชน
-สัญญาที่ไมม่โปร่งใสเป็นธรรม
-รายงาทฃนผลกระทบทางด้านสิ่งแวดล้อมที่ไม่ครอบคลุม ผิดขั้นตอนและไม่มีส่วนร่วมของคนในพื้นที่
-การปกปิดข้อมูลขาวสารกับคนอุดรธานี
-บริษัทAPPC
-รัฐบาล
-การเรียนรู้ เพิ่มศักยภาพในการระดมความคิด พลังปัญญาและพลังทุนทางสังคมเพื่อนำไปสู่ทางเลือกในการพัฒนาอย่างยั่งยืน โดยเฉพาะเน้นที่การตัดสินใจและการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน
-ประชาสังคม องค์กรภาคประขาขนทุกภาคส่วน
-จัดเวทีอภิปราย สัมมนาเช่นประเด็นด้านสุขภาพ สังคม
-จัดกิจกรรมลานโสเหล่สานใจไทบ้าน-คนเมือง
ทำการทำโพล์สำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับโครงการ
-ร่วมเครือข่ายกับนักวิชาการในพื้นที่ นอกพื้นที่และเครือข่ายประชาสังคมจังหวัดอื่นๆ
-จัดทำแผ่นพับเอกสารเผยแพร่โครงการ

-สิ่งแวดล้อม
-คนในพื้นที่โครงการ
-คนอุดรธานี
-ชาติ
-มนุษย์ควรจะอยู่อย่างประสานกลมกลืนสอดคล้องกับธรรมชาติ
-การเมืองภาคประชาชน
-การตัดสินใจและการมีส่วนร่วใมของภาคประชาชน

-กลุ่มสนับสนุน
-กลุ่มพิทักษ์สิทธิตนเอง
-อบต.กำนันและ ผู้ใหญ่บ้าน ใน4 ตำบล
-ประชาชนที่สนับสนุนโครงการ
-บริษัทAPPC
-การเข้ามาสร้างความแตกแนฃยกให้กับชุมชนของกลุ่มที่ไม่หวังดี
-วิกฤตของชาติการพึ่งพิงทรัพยากรจากต่างประเทศเช่นน้ำมัน นำมาซึ่งการเสียดุลการค้า
-กลุ่มต่อต้าน/กลุ่มอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม และผู้ที่ขัดขวางการพัฒนา
-ความเจริญก้าวหน้าทางเศรษฐกิจของประเทศ ลดสภาวะการเสียดุลการค้า นำเงินตราต่างประเทศเข้ามาในประเทศ เพื่อให้เกิดผลประโยชน์ของประชาชนส่วนร่วม มีงานทำ อยู่ดินกินดี พื้นที่จังหวัดเกิดการพัฒนาด้านต่างๆตามมา เช่น ถนนหนทาง โรงพยาบาล มหาวิทยาลัยเกี่ยวกับเหมืองแร่ เป็นต้น
-ชาวบ้านที่สนับสนุนโครงการในพื้นที่4 ตำบลที่มีส่วนได้เสียกับโครงการ
-กำนัน ผู้ใหญ่บ้านในพื้นรนที่4 ตำบลที่ร่วมกันจัดตั้งกลุ่มสนับสนุน
-เดินรณรงค์ให้ข้อมูลเกี่ยวกับโครงการ
-จัดเวทีประกาศเจตนารมณ์ในการสนับสนุนโครงการ
-จัดเวทีแสดงสินค้าโอท็อปและประกาศว่าไม่มีความขัดแย้งเกิดขึ้นในชุมขน
-เดินขบวนชูป้ายสนับสนุนโครงการ
-โจมตีผ่ายตรงกันข้ามว่าใช้ถ้อยคำรุนแรง หยาบคายและใช้ประเพณีวัฒนธรมบิดเบือนเจตนารมณ์บรรพบุรุษ ภูมิปัญญาอีสาน และบิดเบือนข้อมูลต่างๆของโครงการสร้างความตื่นตระหนกให้กับคนในพื้นที่
-การเข้ามาปลุกปั่นคนในพื้นที่โดยนักพัฒนาเอกชน
-ด้านเศรษฐกิจ
--ประชาชนในพื้นที่
-ชาติ/ประเทศ
-วิกฤตชาติ
-ความไร้เหตุผล
-ผลประโยช์ของชาติ
-ความเจริญ/ความมั่งคั่ง
-การพัฒนา การนำทรัพยากรในดินมาใช้ให้เกิดประโยชน์
-เชื่อมั่นในเทคโนโลยีสมัยใหม่ที่จะสามารถแก้ปัญหาได้ และเชื่อมั่นในรัฐบาลถ้ามันมีปัญหาหรือเกิดผลกระทบคงไม่ให้บริษัทมาดำเนินการลงทุนในประเทศไทย










ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

สตรีนิยมกับสิ่งแวดล้อม โดย นัฐวุฒิ สิงห์กุล

Aldo Leopold(1994) เขียนหนังสือที่รวบรวมบทความของเขาชื่อ Sand Country Almanac เขาได้อธิบายถึงปรัชญาของนักสตรีนิยมสิ่งแวดล้อมว่า ผู้หญิงมีควา...